ความสั มพั นธ ระหว างคำว า 姓 (แซ ) และ 氏 (สี ) แซ เป นการนั บด วยการสื บเชื้ อสายมาจากแม มี มาตั้ งแต ชั้ น บรรพกาลแล ว แต เมื่ อผู คนมี จำนวนมากขึ้ นจึ งมี การแยกย ายแตก แขนงเป นสายตระกู ลออกมาเป นสี เพื่ อให เห็ นภาพที่ ชั ดเจนขึ้ น ผู เขี ยนขอเปรี ยบเที ยบคำว า แซ เหมื อนรากแก ว และคำว า สี เหมื อนรากแขนงที่ แตกย อยออกมา ในสมั ยราชวงศ เซี่ ย (๒,๑๐๐- ๑,๖๐๐ ป ก อนคริ สตกาล) ชนชั้ นปกครองและชนชั้ นสู งเท านั้ น ที่ สามารถมี ได ทั้ ง แซ และ สี ตามที่ กล าวมาแล ว แต เมื่ อมาถึ งสมั ย ราชวงศ ฮั่ น (ค.ศ. ๒๐๖ ก อนคริ สต ศั กราช - ค.ศ. ๒๔) สามั ญชน จึ งค อยสามารถมี แซ ใช ได และในช วงเวลานี้ เองแซ และ สี ก็ มี ความหมายหลอมรวมกั นเป นความหมายเดี ยวกั น สามารถแบ งแยกที่ มาของแซ ได ดั งนี้ ๑. แซ ที่ สื บเนื่ องมาจาก แซ ยุ คดึ กดำบรรพ คำกลุ มนี้ จะมี ส วนที่ หมายถึ งผู หญิ งประกอบอยู ด วย เช น แซ จี เป นแซ ของ จั กรพรรดิ เหลื อง (หวงตี้ ) แซ เจี ยง เป นแซ ของจั กรพรรดิ เหยี ยนตี้ ๒. ใช ชื่ อรั ฐ หรื อ เมื อง หรื อ หมู บ าน ที่ ได รั บพระราชทาน เป นส วยใช เป นแซ ในยุ คจั้ นกั้ ว (ยุ คสงครามระหว างแคว น) ประมุ ข จะพระราชทานที่ ดิ นให เป นส วยแก พระญาติ วงศ และขุ นนางที่ ทำ คุ ณงามความดี ให แก พระองค พร อมกั บแต งตั้ งให เป นพระยาครอง เมื องนั้ นมี ตำแหน งเรี ยกว า จู โหว เมื่ อจู โหวได ครอบครองดิ นแดน ใดแล วก็ จะใช ชื่ อดิ นแดนนั้ นเป น สี ต อมาสื บเนื่ องมาเป น แซ มี จำนวนมากมาย เช น แซ หลู เหวย จิ้ น เถิ ง (เหล านี้ มาจากสี ของจู โหวที่ มี แซ เดี ยวกั น คื อ แซ จี ) ๓. ใช ชื่ อของพ อหรื อของปู มาเป นแซ การใช แซ กรณี นี้ สื บเนื่ องมาจากการที่ มี ความเชื่ อเกี่ ยวกั บฮ องเต ที่ เชื่ อว าพระองค เป น โอรสสวรรค เมื่ อพระองค มี พระโอรส เรี ยกว า หวางจื อ หมายถึ ง ลู กฮ องเต มี พระราชนั ดดา เรี ยกว า หวางซุ น หมายถึ ง หลานฮ องเต เช น ฮ องเต โจวจิ งหวาง มี โอรสทรงพระนามว า หวางจื อฉาว เมื่ อหวางจื อฉาวมี หลาน หลานของพระองค ใช ว า ฉาว ซึ่ งเป นคำ สุ ดท ายของชื่ อพ อ ๔. ใช ฐานั นดรของบรรพบุ รุ ษมาตั้ งเป นแซ เช น นำตำแหน ง อ องหรื อตำแหน งเจ าพระยา มาเป นแซ หรื อบ างก็ เอาสมญานาม จากการรั บราชการมาตั้ งเป นแซ หลั งจากมรณกรรมไปแล ว เช น ซ งบู กง (ซ งอู กง) มี ฐานั นดรศั กดิ์ เที ยบเท าเจ าพระยา เป นข าราชการ ทหารฝ ายบู สำเนี ยงแต จิ๋ ว (อู สำเนี ยงจี นกลาง) ลู กหลานจึ งนำ ฐานั นดรศั กดิ์ คำว า บู หรื อ อู ตั้ งเป นแซ หรื อกรณี อั ครมหาเสนาบดี เถี ยนเชี ยนชิ ว ท านรั บราชการจนแก ชราและได รั บพระราชานุ ญาต เป นพิ เศษให สามารถนั่ งรถม ามาเข าประชุ มได ท านได รั บสมญานาม จากข าราชการด วยกั นว า อั ครมหาเสนาบดี ขี่ รถ ลู กหลานได นำ คำว ารถมาตั้ งเป นแซ ที่ มาของแซ
â´Â ÍÒ¹¹· µÃÑ §µÃÕ ªÒµÔ
ก อนจะกล าวถึ งเรื่ องแซ ผู เขี ยนจะขอกล าวถึ ง ชนกลุ มโบราณ ของจี นว ามี ความเป นมาอย างใดก อน ชนกลุ มโบราณของจี นเป น ชนเผ าในบริ เวณตอนกลางของจี นเรี ยกว า ตงง วน มาตั้ งแต ยุ ค บรรพกาล ชนเผ าดั้ งเดิ มของคนจี นมี ชื่ อว า “หั วเซี่ ย” เผ าหั วเซี่ ยมี รกรากอยู ทางตอนบนของลุ มแม น้ ำเหลื อง (ฮวงโห) บรรพชนของ เผ ามี สองสายใหญ ๆ คื อ เผ าของหวงตี้ กั บเผ าของเหยี ยนตี้ สายของ หวงตี้ มี อิ ทธิ พลสู งกว าเหยี ยนตี้ จึ งถู กยกย องเป นบรรพบุ รุ ษของชาว หั วเซี่ ย ในบริ เวณที่ ลุ มแม น้ ำเหลื องตอนใต และแถบชายทะเลตอน เหนื อเซี่ ยงไฮ ขึ้ นไปเป นถิ่ นฐานของเผ าตงอี๋ ชาวหั วเซี่ ยขยายอิ ทธิ พล ไปทางตะวั นออกแล วค อยๆ ผนวกเอาเผ าตงอี๋ รวมเข ามาเป นส วน หนึ่ งของหั วเซี่ ย หั วเซี่ ยถื อว าเป นเผ าจี นแท ดั้ งเดิ ม ส วนจี นใน ดิ นแดนอื่ นๆ ส วนใหญ ถู กหลอมรวมในยุ คหลั ง เมื่ อชาวจี นโบราณ เหล านี้ มี ถิ่ นที่ อยู แน นอนแล วก็ มี การก อตั้ งกั นเป นชุ มชน มี การ แบ งแยกชนชั้ นปกครองและชนชั้ นผู ถู กปกครองออกมาอย าง เด นชั ด ลั กษณะการแบ งชนชั้ นที่ เด นชั ดข อหนึ่ งนอกจากการมี ทรั พย สิ นเงิ นทอง ฐานั นดรทางสั งคมแล ว ยั งมี การใช แซ แบ งแยก ชนชั้ นอี กด วย เนื่ องจากชาวบ านธรรมดาจะไม สามารถมี แซ ใช ได มี แต พวกชนชั้ นปกครองเท านั้ นที่ จะมี แซ ใช กั น ดั งนั้ นผู เขี ยนขอ กล าวถึ งแซ ว ามี ความเป นมาอย างไร ดั งนี้ 姓 ออกเสี ยงแต จิ๋ ว แซ จี นกลางออกเสี ยงว า ซิ่ ง ตามรู ปตั ว อั กษรจะประกอบอั กษร ๒ ตั วคื อ 女 หมายถึ งผู หญิ ง และ 生 หมายถึ งคำว า เกิ ด นำมารวมกั น มี ความหมายตามรู ปตั วอั กษรว า คนเกิ ดมาจากหญิ ง เป นการยกย องให หญิ งมี ความเป นใหญ กว าชาย จากความเชื่ อดั้ งเดิ มทางมานุ ษยวิ ทยาที่ เชื่ อว า เพศหญิ งเป นเพศที่ เหนื อฝ ายชาย เพราะเป นกลุ มที่ สามารถให กำเนิ ดฝ ายชายได ความหมายของคำว า แซ หรื อ ซิ่ ง นี้ จึ งเป นคำที่ บ งบอกถึ งตระกู ล สายมารดา นอกจากนี้ ยั งมี คำว า 氏 สี ออกเสี ยงแต จิ๋ ว สื้ อ ออก เสี ยงจี นกลาง ตั วอั กษร สี ตั วนี้ มาจากอั กษรภาพคำว า รากไม จึ งมี การนำมาใช ในความหมายที่ มี นั ยว า รากเหง าสายตระกู ล
Powered by FlippingBook