Quarter 3/2013

ความสั มพั นธ ระหว างคำว า 姓 (แซ ) และ 氏 (สี ) แซ เป นการนั บด วยการสื บเชื้ อสายมาจากแม มี มาตั้ งแต ชั้ น บรรพกาลแล ว แต เมื่ อผู คนมี จำนวนมากขึ้ นจึ งมี การแยกย ายแตก แขนงเป นสายตระกู ลออกมาเป นสี เพื่ อให เห็ นภาพที่ ชั ดเจนขึ้ น ผู เขี ยนขอเปรี ยบเที ยบคำว า แซ เหมื อนรากแก ว และคำว า สี เหมื อนรากแขนงที่ แตกย อยออกมา ในสมั ยราชวงศ เซี่ ย (๒,๑๐๐- ๑,๖๐๐ ป ก อนคริ สตกาล) ชนชั้ นปกครองและชนชั้ นสู งเท านั้ น ที่ สามารถมี ได ทั้ ง แซ และ สี ตามที่ กล าวมาแล ว แต เมื่ อมาถึ งสมั ย ราชวงศ ฮั่ น (ค.ศ. ๒๐๖ ก อนคริ สต ศั กราช - ค.ศ. ๒๔) สามั ญชน จึ งค อยสามารถมี แซ ใช ได และในช วงเวลานี้ เองแซ และ สี ก็ มี ความหมายหลอมรวมกั นเป นความหมายเดี ยวกั น สามารถแบ งแยกที่ มาของแซ ได ดั งนี้ ๑. แซ ที่ สื บเนื่ องมาจาก แซ ยุ คดึ กดำบรรพ คำกลุ มนี้ จะมี ส วนที่ หมายถึ งผู หญิ งประกอบอยู ด วย เช น แซ จี เป นแซ ของ จั กรพรรดิ เหลื อง (หวงตี้ ) แซ เจี ยง เป นแซ ของจั กรพรรดิ เหยี ยนตี้ ๒. ใช ชื่ อรั ฐ หรื อ เมื อง หรื อ หมู บ าน ที่ ได รั บพระราชทาน เป นส วยใช เป นแซ ในยุ คจั้ นกั้ ว (ยุ คสงครามระหว างแคว น) ประมุ ข จะพระราชทานที่ ดิ นให เป นส วยแก พระญาติ วงศ และขุ นนางที่ ทำ คุ ณงามความดี ให แก พระองค พร อมกั บแต งตั้ งให เป นพระยาครอง เมื องนั้ นมี ตำแหน งเรี ยกว า จู โหว เมื่ อจู โหวได ครอบครองดิ นแดน ใดแล วก็ จะใช ชื่ อดิ นแดนนั้ นเป น สี ต อมาสื บเนื่ องมาเป น แซ มี จำนวนมากมาย เช น แซ หลู เหวย จิ้ น เถิ ง (เหล านี้ มาจากสี ของจู โหวที่ มี แซ เดี ยวกั น คื อ แซ จี ) ๓. ใช ชื่ อของพ อหรื อของปู มาเป นแซ การใช แซ กรณี นี้ สื บเนื่ องมาจากการที่ มี ความเชื่ อเกี่ ยวกั บฮ องเต ที่ เชื่ อว าพระองค เป น โอรสสวรรค เมื่ อพระองค มี พระโอรส เรี ยกว า หวางจื อ หมายถึ ง ลู กฮ องเต มี พระราชนั ดดา เรี ยกว า หวางซุ น หมายถึ ง หลานฮ องเต เช น ฮ องเต โจวจิ งหวาง มี โอรสทรงพระนามว า หวางจื อฉาว เมื่ อหวางจื อฉาวมี หลาน หลานของพระองค ใช ว า ฉาว ซึ่ งเป นคำ สุ ดท ายของชื่ อพ อ ๔. ใช ฐานั นดรของบรรพบุ รุ ษมาตั้ งเป นแซ เช น นำตำแหน ง อ องหรื อตำแหน งเจ าพระยา มาเป นแซ หรื อบ างก็ เอาสมญานาม จากการรั บราชการมาตั้ งเป นแซ หลั งจากมรณกรรมไปแล ว เช น ซ งบู กง (ซ งอู กง) มี ฐานั นดรศั กดิ์ เที ยบเท าเจ าพระยา เป นข าราชการ ทหารฝ ายบู สำเนี ยงแต จิ๋ ว (อู สำเนี ยงจี นกลาง) ลู กหลานจึ งนำ ฐานั นดรศั กดิ์ คำว า บู หรื อ อู ตั้ งเป นแซ หรื อกรณี อั ครมหาเสนาบดี เถี ยนเชี ยนชิ ว ท านรั บราชการจนแก ชราและได รั บพระราชานุ ญาต เป นพิ เศษให สามารถนั่ งรถม ามาเข าประชุ มได ท านได รั บสมญานาม จากข าราชการด วยกั นว า อั ครมหาเสนาบดี ขี่ รถ ลู กหลานได นำ คำว ารถมาตั้ งเป นแซ ที่ มาของแซ

â´Â ÍÒ¹¹· µÃÑ §µÃÕ ªÒµÔ

ก อนจะกล าวถึ งเรื่ องแซ ผู เขี ยนจะขอกล าวถึ ง ชนกลุ มโบราณ ของจี นว ามี ความเป นมาอย างใดก อน ชนกลุ มโบราณของจี นเป น ชนเผ าในบริ เวณตอนกลางของจี นเรี ยกว า ตงง วน มาตั้ งแต ยุ ค บรรพกาล ชนเผ าดั้ งเดิ มของคนจี นมี ชื่ อว า “หั วเซี่ ย” เผ าหั วเซี่ ยมี รกรากอยู ทางตอนบนของลุ มแม น้ ำเหลื อง (ฮวงโห) บรรพชนของ เผ ามี สองสายใหญ ๆ คื อ เผ าของหวงตี้ กั บเผ าของเหยี ยนตี้ สายของ หวงตี้ มี อิ ทธิ พลสู งกว าเหยี ยนตี้ จึ งถู กยกย องเป นบรรพบุ รุ ษของชาว หั วเซี่ ย ในบริ เวณที่ ลุ มแม น้ ำเหลื องตอนใต และแถบชายทะเลตอน เหนื อเซี่ ยงไฮ ขึ้ นไปเป นถิ่ นฐานของเผ าตงอี๋ ชาวหั วเซี่ ยขยายอิ ทธิ พล ไปทางตะวั นออกแล วค อยๆ ผนวกเอาเผ าตงอี๋ รวมเข ามาเป นส วน หนึ่ งของหั วเซี่ ย หั วเซี่ ยถื อว าเป นเผ าจี นแท ดั้ งเดิ ม ส วนจี นใน ดิ นแดนอื่ นๆ ส วนใหญ ถู กหลอมรวมในยุ คหลั ง เมื่ อชาวจี นโบราณ เหล านี้ มี ถิ่ นที่ อยู แน นอนแล วก็ มี การก อตั้ งกั นเป นชุ มชน มี การ แบ งแยกชนชั้ นปกครองและชนชั้ นผู ถู กปกครองออกมาอย าง เด นชั ด ลั กษณะการแบ งชนชั้ นที่ เด นชั ดข อหนึ่ งนอกจากการมี ทรั พย สิ นเงิ นทอง ฐานั นดรทางสั งคมแล ว ยั งมี การใช แซ แบ งแยก ชนชั้ นอี กด วย เนื่ องจากชาวบ านธรรมดาจะไม สามารถมี แซ ใช ได มี แต พวกชนชั้ นปกครองเท านั้ นที่ จะมี แซ ใช กั น ดั งนั้ นผู เขี ยนขอ กล าวถึ งแซ ว ามี ความเป นมาอย างไร ดั งนี้ 姓 ออกเสี ยงแต จิ๋ ว แซ จี นกลางออกเสี ยงว า ซิ่ ง ตามรู ปตั ว อั กษรจะประกอบอั กษร ๒ ตั วคื อ 女 หมายถึ งผู หญิ ง และ 生 หมายถึ งคำว า เกิ ด นำมารวมกั น มี ความหมายตามรู ปตั วอั กษรว า คนเกิ ดมาจากหญิ ง เป นการยกย องให หญิ งมี ความเป นใหญ กว าชาย จากความเชื่ อดั้ งเดิ มทางมานุ ษยวิ ทยาที่ เชื่ อว า เพศหญิ งเป นเพศที่ เหนื อฝ ายชาย เพราะเป นกลุ มที่ สามารถให กำเนิ ดฝ ายชายได ความหมายของคำว า แซ หรื อ ซิ่ ง นี้ จึ งเป นคำที่ บ งบอกถึ งตระกู ล สายมารดา นอกจากนี้ ยั งมี คำว า 氏 สี ออกเสี ยงแต จิ๋ ว สื้ อ ออก เสี ยงจี นกลาง ตั วอั กษร สี ตั วนี้ มาจากอั กษรภาพคำว า รากไม จึ งมี การนำมาใช ในความหมายที่ มี นั ยว า รากเหง าสายตระกู ล

Powered by