Quarter 3/2013

๔. ไม ใช ตั วอั กษรต างประเทศมาเป นแซ ๕. ไม ใช ตั วอั กษรที่ เลิ กใช แล วมาเป นแซ ๖. ไม ใช ตั วอั กษรที่ คิ ดขึ้ นเองมาเป นแซ

การใช แซ ของคนไทย เดิ มคนไทยมี เพี ยงแต ชื่ อใช เรี ยกขานกั นเท านั้ น ต อมาพระบาท สมเด็ จพระมงกุ ฎเกล าเจ าอยู หั ว รั ชกาลที่ ๖ ทรงตราพระราชบั ญญั ติ ขนานนามสกุ ลเมื่ อวั นที่ ๒๒ มี นาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ มี ผลบั งคั บใช ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ส วนชาวจี นที่ อพยพมาตั้ งถิ่ นฐานก็ มี แซ ติ ดตั วมาจากประเทศแม แล ว จึ งมี การใช แซ เรื่ อยมาจนถึ งป จจุ บั นนี้ แต เนื่ องจากชาวจี นในแต ละครอบครั วมั กมี ลู กหลายคน นานวั นไป ลู กหลานชาวจี นเหล านี้ ก็ มี ความคิ ดที่ จะเปลี่ ยนจากแซ มาใช นามสกุ ล เหมื อนคนไทยบ าง ยิ่ งในช วงที่ จอมพล ป. พิ บู ลสงคราม มี นโยบาย นิ ยมไทยด วยแล ว ชาวจี นจึ งมั กจะถู กกี ดกั นหลายอย าง เพื่ อหลี กเลี่ ยง ป ญหานี้ จึ งหั นมาใช นามสกุ ลกั นมากขึ้ น (จนป จจุ บั นลู กหลานชาวจี น บางคนถึ งกั บไม ทราบเลยว าตนเองมี บรรพบุ รุ ษมาจากคนจี นเลยก็ มี ) การใช นามสกุ ลของชาวจี น บ างก็ ใช ความหมายของแซ เดิ มมาแปลง เป นนามสกุ ล หรื อบ างก็ เอาแซ เดิ มของตนมาผสมกั บคำไทยให มี ความหมายแตกต างไปจากเดิ ม บ างใช นามสกุ ลที่ ไม มี รากเค าของ แซ เดิ ม แม จะมี การเปลี่ ยนแปลงการใช แซ ไปอย างไรก็ ตาม ผู เขี ยน ก็ ยั งคงมี ความคิ ดในใจลึ กๆ ว า คนเราเกิ ดมาไม ควรลื มความเป นมา ของตนเองเหมื อนกั บสำนวนจี นที่ มี กล าวกั นว า เมื่ อดื่ มน้ ำให รำลึ ก ถึ งต นน้ ำ เป นการเตื อนสติ ให พวกเราระลึ กถึ งความเป นมาของ ตนเองและให รู บุ ญคุ ณของบรรพบุ รุ ษที่ ได ก อร างสร างวงศ ตระกู ล มาด วยความยากลำบากเพื่ อให ลู กหลานสามารถลื มตาอ าปากได ในสั งคม ตลอดจนระลึ กถึ งประเทศชาติ ที่ เราได อาศั ยผื นแผ นดิ น เป นที่ เกิ ดจนถึ งเป นที่ เราใช ฝ งร างกายในเวลาสิ้ นสุ ดของชี วิ ต

ซ าย : ฮั่ นเกาจู จั กรพรรดิ องค แรกของราชวงศ ฮั่ น ขวา : จั กรพรรดิ ราชวงศ ชิ ง

ป ญหาในด านการใช แซ ก อให เกิ ดป ญหากั บชาวจี น เนื่ องจาก มี ลู กได แค คนเดี ยวจึ งเกิ ดการแย งให ลู กใช นามสกุ ลของพ อหรื อ แม ขึ้ น เนื่ องจากแต ละฝ ายทั้ งทางฝ ายพ อหรื อฝ ายแม ต างต องการ ให มี การสื บสกุ ลของฝ ายตนเองตามมา รั ฐบาลจี นจึ งออกกฎหมาย แก ป ญหาในเรื่ องนี้ โดยให ใช ทั้ งแซ ของฝ ายบิ ดาและมารดารวมกั น เช น พ อแซ จู แม แซ เซี ยว เมื่ อมารวมกั นเป นจู เซี ยว หรื อ เซี ยวจู ก็ ได และยั งแก ป ญหาอี กอย างหนึ่ งไปในตั ว ด วยว าชาวจี นมั กมี แซ ที่ ซ้ ำกั นมากมาย การให ใช แซ ของทั้ งพ อและแม ทำให ป ญหาการใช แซ ซ้ ำก็ ลดลงไปมากที เดี ยว ผลจากการที่ ใช แซ ผสมกั นนี้ ทำให ประเทศจี นมี แซ เพิ่ มขึ้ นอี กจำนวน ๑,๒๘๐,๐๐๐ แซ เลยที เดี ยว กฎหมายการใช แซ ของทั้ งพ อแม ผสมกั นมี หลั กเกณฑ ดั งนี้ ๑. เมื่ อนำเอาแซ ที่ มาผสมกั นต องมี พยางค ได ไม เกิ น ๖ พยางค ๒. คำที่ นำมาใช ต องไม ขั ดกั บจารี ตประเพณี ไม มี เนื้ อหา ทำลายประเทศ ไม เคารพประเทศจี น หรื อสร างความเข าใจผิ ดได ง ายๆ ๓. ไม ใช ตั วอั กษรตั วเต็ ม ป จจุ บั นมี การใช เป นตั วอั กษรย อ แล ว (ตั วอั กษรตั วเต็ มหมายถึ งตั วอั กษรที่ มี การใช กั นมาแต โบราณ เรื่ อยลงมาจนถึ งป จจุ บั นนิ ยมใช ในไต หวั น แต ป จจุ บั นสาธารณรั ฐ ประชาชนจี นมี การประดิ ษฐ ตั วอั กษรที่ มี จำนวนขี ดน อยลงเพื่ อง าย แก การเขี ยนมากยิ่ งขึ้ น เรี ยกว า ตั วอั กษรย อ)

Powered by