Quarter 3/2013

ไปกั บ ประวั ติ ตะเกี ยง

â´Â ËÔè §ËŒ ÍÂ

ตะเกี ยงโรมั นสั มฤทธิ์ ใช น้ ำมั นชนิ ดต างๆ เป นเชื้ อเพลิ ง เช น น้ ำมั นมะกอก น้ ำมั นงา น้ ำมั นปลา น้ ำมั นวาฬ วิ วั ฒนาการของตะเกี ยงหยุ ดนิ่ งอยู ที่ ตะเกี ยงโรมั นสั มฤทธิ์ และ เชื้ อเพลิ งที่ ใช เป นเวลานาน ส วนรู ปทรงก็ มี การปรั บเปลี่ ยนให สวยงาม มิ ดชิ ด และกลายเป นสิ นค าหรู หราที่ พบได ตามคฤหาสน ของเศรษฐี เท านั้ น บ านของคนจนกลั บต องใช เที ยนไข นั บแต ยุ คกลางช วง ค.ศ. ๔๗๕ เรื่ อยมาจนกระทั่ งเข าสู ศตวรรษที่ ๑๘ มี การใช พลั งงานและแสงสว างเพิ่ มขึ้ นอย างรวดเร็ ว นั กเคมี ชาว สวิ ตเซอร แลนด ผู หนึ่ งหั นมาปรั บปรุ งทั้ งรู ปทรงและเชื้ อเพลิ งสำหรั บ ใช ในตะเกี ยงโดยเน นที่ ความปลอดภั ย ทนทาน ใช ระยะเวลาในการ เผาผลาญได นานขึ้ น ให แสงสว างมากขึ้ น จึ งทำให โลกจารึ กชื่ อ ของเขาผู นี้ ในฐานะผู ประดิ ษฐ “ตะเกี ยงอาร กองด ” นั่ นคื อ ฟรองซั วส ป แอร เอเม อาร กองด (François Pierre Aimé Argand) แม จะมี ผู คิ ดค นตะเกี ยงน้ ำมั นที่ ใช จุ ดความสว างให มี ความ ปลอดภั ยและให แสงสว างนานขึ้ น แต มนุ ษย ก็ ยั งไม สามารถนำแสง สว างออกไปสู ที่ โล ง ที่ สาธารณะได จนกระทั่ งเกิ ดความก าวหน า ในยุ คอุ ตสาหกรรม ทำให นั กประดิ ษฐ ผู มี ส วนร วมคิ ดค นเครื่ อง จั กรกลไอน้ ำในช วงที่ เขาเป นผู ช วย เจมส วั ตต ได ลองนำถ านหิ น มากลั่ นเป นน้ ำมั นก าด เพื่ อใช เป นเชื้ อเพลิ งหลั กให แสงสว าง และ ได รั บความนิ ยม จนผู คนลื มเลื อนและละทิ้ งการใช น้ ำมั นที่ ทำจาก ไขมั นสั ตว เป นเชื้ อเพลิ งตั้ งแต นั้ นมา เขาคื อ วิ ลเลี ยม เมอร ดอก (William Merdoch) วิ ศวกรชาวสก อตแลนด

เมื่ อสองหมื่ นป ก อนคริ สตกาล มนุ ษย ยุ คหิ นรู จั กใช ประโยชน จากแสงสว าง ในเวลากลางวั นอาศั ยแสงจากดวงอาทิ ตย และ กลางคื นก็ ผลิ ตแสงขึ้ นมาจากสิ่ งประดิ ษฐ ที่ เรี ยกกั นว า “ตะเกี ยง” เพื่ อกั กเก็ บแสงสว าง นั บจากวั นนั้ นมาถึ งวั นนี้ มนุ ษย ไม เคยชิ นกั บความมื ดอี กแล ว “ตะเกี ยง” ตามความหมายของพจนานุ กรมระบุ ว า คื อ เครื่ องใช สำหรั บตามไฟ มี น้ ำมั นเป นเชื้ อ มี หลายแบบหลายชนิ ด โดยตะเกี ยงชุ ดแรกที่ มี การพบและสั นนิ ษฐานว าคื อสิ่ งที่ มนุ ษย ถ้ ำ ใช เก็ บกั กแสงสว าง ยั งเป นเพี ยงถ วยทำด วยหิ นทรายขุ ด และใช ไขมั นสั ตว เป นเชื้ อเพลิ งโดยมี ไส ตะเกี ยงห อยไว ด านข าง เช นที่ เห็ น ในภาพยนตร ที่ เกี่ ยวกั บสมั ยโบราณ นั่ นคื อ กองไฟฟ น คบไฟ หลั งจากมนุ ษย เดิ นทางเข าสู ยุ คกรี ก โรมั น การกั กเก็ บแสง สว างเริ่ มอยู ในภาชนะที่ เปลี่ ยนเป นรู ปพวย มี การเจาะรู ที่ พวยเพื่ อ สามารถปรั บระดั บไส ตะเกี ยงให มี แสงสว างพอเหมาะ อี กทั้ งยั ง ไม ทำให เกิ ดเขม าและควั น และในยุ คนี้ เอง การผลิ ตตะเกี ยงเพื่ อ การค าเริ่ มมี ขึ้ น ทำให เกิ ดตะเกี ยงรู ปทรงสวยงาม และเลี ยนแบบ รู ปทรงที่ มี ในธรรมชาติ เช น ใบปาล ม รู ปคน รู ปสั ตว ตั วตะเกี ยง ทำด วยทองสั มฤทธิ์ จึ งเรี ยกกั นว า “ตะเกี ยงโรมั นสั มฤทธิ์ ” ที่ ใช กั น ในสมั ยโรมั นและอี ยิ ปต โลกแห งแสงสว าง จากไขมั นสั ตว สู น้ ำมั นถ านหิ น

Powered by