การฝ กอบรมพนั กงาน บริ ษั ทในเครื อ เอ็ กซอนโมบิ ล ในประเทศไทย ให พร อมใช อุ ปกรณ AED
ดร. บวรศั กดิ์ วาณิ ชย กุ ล ผู จั ดการโครงการ AED
ความเป นมาของการติ ดตั้ งเครื่ องช วยฟ นคื น คลื่ นหั วใจด วยไฟฟ าแบบอั ตโนมั ติ (Automated External Defibrillator หรื อ AED) ในสถานที่ ทำงาน ของบริ ษั ท “AED เป นเครื่ องช วยฟ นคื นคลื่ นหั วใจด วยไฟฟ า แบบอั ตโนมั ติ นั บว าเป นของใหม สำหรั บประเทศไทย แต ในประเทศอื่ นๆ เช น สหรั ฐอเมริ กา หรื อ ญี่ ปุ น ได มี การติ ดตั้ งและใช งานเครื่ อง AED มาเป นระยะเวลา พอสมควรแล ว โดยในทางวิ ทยาศาสตร และทางการ แพทย เป นที่ ยอมรั บว าอุ ปกรณ ดั งกล าวสามารถช วย เพิ่ มโอกาสการรอดชี วิ ตของผู ที่ มี อาการทางหั วใจ เมื่ อใช ร วมกั บการทำ CPR อย างถู กวิ ธี “ได มี การติ ดตั้ งเครื่ อง AED ในสถานที่ ทำงานของ เอ็ กซอนโมบิ ล ในหลายประเทศ รวมถึ งในประเทศไทย ซึ่ งบริ ษั ทมี พนั กงานมากกว า ๒,๐๐๐ คน เพื่ อให เกิ ด ความมั่ นใจ ฝ ายบริ หารจึ งสนั บสนุ นให มี การติ ดตั้ งเครื่ อง AED ไว ในสถานที่ ทำงานโดยมี การติ ดตั้ งทุ กชั้ นของ สถานที่ ทำงานของบริ ษั ท ทั้ งที่ อาคารเอสโซ สำนั กงาน ใหญ อาคารคิ วเฮ าส ลุ มพิ นี อาคารหะริ นธร รวมถึ ง อาคารสำนั กงาน ในโรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา คลั งน้ ำมั นทั้ ง ๓ แห ง และศู นย ผลิ ตก าซน้ ำพอง
ดร. บวรศั กดิ์ วาณิ ชย กุ ล
“จากการศึ กษาพบว า สถิ ติ ของการเกิ ดอาการ เกี่ ยวกั บหั วใจของคนไทยมี อั ตราที่ เพิ่ มขึ้ น ไม ใช เฉพาะ ผู ทำงานในโรงงานเท านั้ น แต สามารถเกิ ดกั บใครก็ ได ทุ กที่ ทุ กเวลา เราจึ งถื อว าการเตรี ยมพร อมเป นสิ่ งที่ สำคั ญมาก แต ทั้ งนี้ ไม ได หมายความว า การทำงานใน office environment จะเพิ่ มความเสี่ ยงหรื อลดความเสี่ ยง ของการเกิ ดอาการทางหั วใจ เพราะสาเหตุ ของอาการ ดั งกล าวมาจากป จจั ยหลากหลายประการ”
Powered by FlippingBook