Quarter 1/2015

ขวา : การฝ กอบรมการป มหั วใจ เป นส วนหนึ่ งของการอบรมใช อุ ปกรณ AED

เพื่ อให การช วยเหลื อเป นไปอย างมี ประสิ ทธิ ภาพ สู งสุ ด ต องมี การวางแผน การฝ กอบรม และการ เชื่ อมต อกั บหน วยแพทย ฉุ กเฉิ นอย างไรบ าง “ในโครงการติ ดตั้ งเครื่ อง AED ของเอ็ กซอนโมบิ ล นั้ น เราเริ่ มมาจากการศึ กษา ทำความเข าใจ และ วางแผนอย างเป นระบบ การช วยชี วิ ตคนที่ มี อาการทาง หั วใจ เวลา วิ ธี การ และอุ ปกรณ เป นเรื่ องสำคั ญ เวลา เพี ยงไม กี่ นาที อาจเปลี่ ยนสถานการณ หรื ออาการของ ผู ประสบเหตุ ได การเตรี ยมการจึ งต องคำนึ งถึ งเวลา ในการเข าถึ งเครื่ อง AED ซึ่ งหมายถึ ง จำนวนและ ตำแหน งการติ ดตั้ ง วิ ธี การปฐมพยาบาลเบื้ องต นอย าง ถู กวิ ธี จากจำนวนพนั กงานหลายร อยคนของบริ ษั ท ที่ ได รั บการฝ กอบรม รวมถึ งอุ ปกรณ AED และ First Aids Kit ที่ จะต องได รั บการตรวจสอบความพร อม ในการใช งานอย างสม่ ำเสมอ “อย างไรก็ ดี ที่ กล าวมาข างต นนั้ นเป นการปฐม พยาบาลเท านั้ น เมื่ อมี เหตุ การณ ไม คาดฝ นเกิ ดขึ้ น เพี ยงคนหนึ่ งคน หรื อสองคนอาจไม สามารถจั ดการได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ เราจึ งได จั ดทำแผนรองรั บ สถานการณ ฉุ กเฉิ น ซึ่ งจะมี การกำหนดแผนงาน แบ งหน าที่ ความรั บผิ ดชอบ ในการปฐมพยาบาล เบื้ องต น การแจ งเหตุ การติ ดต อประสานกั บแพทย ฉุ กเฉิ น รวมถึ งแผนประสานกั บโรงพยาบาลซึ่ งแผน ดั งกล าวได มี การซ อมอย างสม่ ำเสมอโดยหน วยงาน ที่ เกี่ ยวข อง” “สุ ดท ายนี้ การที่ บริ ษั ทลงทุ นในการติ ดตั้ งเครื่ อง AED จั ดฝ กอบรมพนั กงาน ทำแผนรองรั บผู ประสบเหตุ และเตรี ยมการมากมาย เราไม ได คาดหวั งว าจะมี ใคร ในบริ ษั ทหรื อบุ คคลทั่ วไป ประสบเหตุ อาการหั วใจ หยุ ดเต นเฉี ยบพลั น แต เราคาดหวั งว า ถ ามี เหตุ การณ เกิ ดขึ้ นจริ ง เราจะไม ยอมเสี ยโอกาสในการช วยชี วิ ต ผู ประสบเหตุ เหล านั้ น”

การฝ กอบรมพนั กงานบริ ษั ทในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ล ในประเทศไทย ให มี ความรู ในการใช อุ ปกรณ AED “อย างที่ ทราบกั นว า AED เป นแค เพี ยงเครื่ องมื อ สิ่ งที่ สำคั ญที่ สุ ดเมื่ อเรามี เครื่ องมื อแล ว เราต องมี ความรู ในการใช งานอย างถู กวิ ธี “แม ว า AED จะถู กออกแบบให มี การทำงาน กึ่ งอั ตโนมั ติ และออกแบบมาสำหรั บใช งานโดยประชาชน ทั่ วไป แต ต องไม ลื มว าการฟ นคื นคลื่ นหั วใจจะต องทำ ควบคู ไปกั บการป มหั วใจ หรื อ CPR “โครงการติ ดตั้ ง AED ของเอ็ กซอนโมบิ ลมี การ วิ เคราะห และวางแผน ทั้ งในการกำหนดจุ ดติ ดตั้ งเครื่ อง จำนวนเครื่ อง เพื่ อให สามารถเข าถึ งเครื่ อง AED ในกรณี ฉุ กเฉิ นไม เกิ น ๓ นาที แผนการดู แลรั กษาและ ตรวจสอบสภาพเครื่ อง AED รวมถึ งการฝ กอบรมให ความรู แก พนั กงาน โดยบริ ษั ทได จั ดการฝ กอบรมใน หั วข อ “การช วยชี วิ ตพื้ นฐานและการใช เครื่ อง AED” (Basic Lifesaving and use of AED) โดยเชิ ญ TRC มาเป นผู ฝ กอบรมให กั บพนั กงานของบริ ษั ท รวมถึ ง ผู รั บเหมาที่ ต องทำงานประจำในบริ ษั ท โดยในป แรกนี้ จะมี ผู ผ านการฝ กอบรมโดย TRC ไม ต่ ำกว า ๑๕๐ คน ทั้ งนี้ ไม รวมถึ งพนั กงานในโรงกลั่ นน้ ำมั นและคลั งน้ ำมั น ที่ จะมี การฝ กอบรมโดยผู เชี่ ยวชาญของบริ ษั ท อี กกว า ๒๐๐ คน คาดว าการฝ กอบรมดั งกล าวจะมี ต อเนื่ อง ทุ กป ”

Powered by