ขวา : การฝ กอบรมการป มหั วใจ เป นส วนหนึ่ งของการอบรมใช อุ ปกรณ AED
เพื่ อให การช วยเหลื อเป นไปอย างมี ประสิ ทธิ ภาพ สู งสุ ด ต องมี การวางแผน การฝ กอบรม และการ เชื่ อมต อกั บหน วยแพทย ฉุ กเฉิ นอย างไรบ าง “ในโครงการติ ดตั้ งเครื่ อง AED ของเอ็ กซอนโมบิ ล นั้ น เราเริ่ มมาจากการศึ กษา ทำความเข าใจ และ วางแผนอย างเป นระบบ การช วยชี วิ ตคนที่ มี อาการทาง หั วใจ เวลา วิ ธี การ และอุ ปกรณ เป นเรื่ องสำคั ญ เวลา เพี ยงไม กี่ นาที อาจเปลี่ ยนสถานการณ หรื ออาการของ ผู ประสบเหตุ ได การเตรี ยมการจึ งต องคำนึ งถึ งเวลา ในการเข าถึ งเครื่ อง AED ซึ่ งหมายถึ ง จำนวนและ ตำแหน งการติ ดตั้ ง วิ ธี การปฐมพยาบาลเบื้ องต นอย าง ถู กวิ ธี จากจำนวนพนั กงานหลายร อยคนของบริ ษั ท ที่ ได รั บการฝ กอบรม รวมถึ งอุ ปกรณ AED และ First Aids Kit ที่ จะต องได รั บการตรวจสอบความพร อม ในการใช งานอย างสม่ ำเสมอ “อย างไรก็ ดี ที่ กล าวมาข างต นนั้ นเป นการปฐม พยาบาลเท านั้ น เมื่ อมี เหตุ การณ ไม คาดฝ นเกิ ดขึ้ น เพี ยงคนหนึ่ งคน หรื อสองคนอาจไม สามารถจั ดการได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ เราจึ งได จั ดทำแผนรองรั บ สถานการณ ฉุ กเฉิ น ซึ่ งจะมี การกำหนดแผนงาน แบ งหน าที่ ความรั บผิ ดชอบ ในการปฐมพยาบาล เบื้ องต น การแจ งเหตุ การติ ดต อประสานกั บแพทย ฉุ กเฉิ น รวมถึ งแผนประสานกั บโรงพยาบาลซึ่ งแผน ดั งกล าวได มี การซ อมอย างสม่ ำเสมอโดยหน วยงาน ที่ เกี่ ยวข อง” “สุ ดท ายนี้ การที่ บริ ษั ทลงทุ นในการติ ดตั้ งเครื่ อง AED จั ดฝ กอบรมพนั กงาน ทำแผนรองรั บผู ประสบเหตุ และเตรี ยมการมากมาย เราไม ได คาดหวั งว าจะมี ใคร ในบริ ษั ทหรื อบุ คคลทั่ วไป ประสบเหตุ อาการหั วใจ หยุ ดเต นเฉี ยบพลั น แต เราคาดหวั งว า ถ ามี เหตุ การณ เกิ ดขึ้ นจริ ง เราจะไม ยอมเสี ยโอกาสในการช วยชี วิ ต ผู ประสบเหตุ เหล านั้ น”
การฝ กอบรมพนั กงานบริ ษั ทในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ล ในประเทศไทย ให มี ความรู ในการใช อุ ปกรณ AED “อย างที่ ทราบกั นว า AED เป นแค เพี ยงเครื่ องมื อ สิ่ งที่ สำคั ญที่ สุ ดเมื่ อเรามี เครื่ องมื อแล ว เราต องมี ความรู ในการใช งานอย างถู กวิ ธี “แม ว า AED จะถู กออกแบบให มี การทำงาน กึ่ งอั ตโนมั ติ และออกแบบมาสำหรั บใช งานโดยประชาชน ทั่ วไป แต ต องไม ลื มว าการฟ นคื นคลื่ นหั วใจจะต องทำ ควบคู ไปกั บการป มหั วใจ หรื อ CPR “โครงการติ ดตั้ ง AED ของเอ็ กซอนโมบิ ลมี การ วิ เคราะห และวางแผน ทั้ งในการกำหนดจุ ดติ ดตั้ งเครื่ อง จำนวนเครื่ อง เพื่ อให สามารถเข าถึ งเครื่ อง AED ในกรณี ฉุ กเฉิ นไม เกิ น ๓ นาที แผนการดู แลรั กษาและ ตรวจสอบสภาพเครื่ อง AED รวมถึ งการฝ กอบรมให ความรู แก พนั กงาน โดยบริ ษั ทได จั ดการฝ กอบรมใน หั วข อ “การช วยชี วิ ตพื้ นฐานและการใช เครื่ อง AED” (Basic Lifesaving and use of AED) โดยเชิ ญ TRC มาเป นผู ฝ กอบรมให กั บพนั กงานของบริ ษั ท รวมถึ ง ผู รั บเหมาที่ ต องทำงานประจำในบริ ษั ท โดยในป แรกนี้ จะมี ผู ผ านการฝ กอบรมโดย TRC ไม ต่ ำกว า ๑๕๐ คน ทั้ งนี้ ไม รวมถึ งพนั กงานในโรงกลั่ นน้ ำมั นและคลั งน้ ำมั น ที่ จะมี การฝ กอบรมโดยผู เชี่ ยวชาญของบริ ษั ท อี กกว า ๒๐๐ คน คาดว าการฝ กอบรมดั งกล าวจะมี ต อเนื่ อง ทุ กป ”
Powered by FlippingBook