Quarter 1/2015

เจดี ย ด านซ ายมื อ เป นเจดี ย มอญ โดยมี ส วนล าง เป นฐานทั กษิ ณที่ มี กำแพงเตี้ ยๆ ล อมรอบ ด านบน ส วนกลางทำเป นองค ระฆั งที่ มี รู ปลั กษณะที่ แปลกตา คล ายกั บผลมะเฟ องที่ ทำเป นพู เรี ยวยาว โดยมี เส นลวด รั ดคั่ นอยู แบ งพู ดั งกล าวออกเป นสองชั้ น รู ปแบบของ เจดี ย องค นี้ ถื อเป นลั กษณะพิ เศษของวั ดเสาธงทอง ที่ ยั ง ไม เคยพบในที่ แห งอื่ น ส วนเจดี ย ด านขวามื อ สร างเป นเจดี ย ทรงระฆั งกลม ที่ มี ฐานทั กษิ ณอยู ด านล าง ต อด วยฐานป ทม กลมรองรั บ มาลั ยลู กแก วสามชั้ น ต อด วยทรงระฆั งกลม มี บั ลลั งก รองรั บปล องไฉนสู งเพรี ยวขึ้ นไป เมื่ อพิ จารณาจากรู ปทรงสถาป ตยกรรมของเจดี ย ทั้ งคู สั นนิ ษฐานว า น าจะสร างขึ้ นในราวสมั ยรั ชกาลที่ ๔ เป นต นมา ซึ่ งสอดคล องกั บข อมู ลทางประวั ติ ศาสตร ที่ กล าวถึ ง การบู รณะครั้ งใหญ ของวั ดแห งนี้ เมื่ อครั้ ง รั ชสมั ยดั งกล าว อุ โบสถและวิ หารน อย : ปู ชนี ยสถานสำคั ญของวั ด ถั ดจากเจดี ย คู เข าไป จะเป นที่ ตั้ งของอุ โบสถที่ มี กำแพงแก วล อมรอบ ภายในกำแพงแก ว มี อุ โบสถเป น ประธานหั นหน าไปทางทิ ศตะวั นออก ด านหน ามี วิ หาร- น อยตั้ งขวางอยู หนึ่ งหลั ง หั นหน าไปทางทิ ศเหนื อ เข าสู ลำน้ ำเจ าพระยา ซึ่ งเป นคติ เดิ มของพุ ทธศาสนิ กชน ที่ นิ ยมหั นหน าวั ดเข าสู แม น้ ำหรื อเส นทางสั ญจรใน ขณะนั้ น อุ โบสถ เป นอาคารทรงสี่ เหลี่ ยมผื นผ าขนาด ห าห อง มี หลั งคาซ อนลด ๒ ชั้ น เดิ มทำเป นพะไลคลุ ม ชาลาทั้ งด านหน าและหลั ง ภายในอุ โบสถประดิ ษฐาน พระพุ ทธรู ปปางมารวิ ชั ยเป นประธานของอาคาร พระประธานองค นี้ ถื อกั นว ามี ขนาดใหญ ที่ สุ ดในเกาะเกร็ ด อุ โบสถหลั งนี้ สั นนิ ษฐานว าคงสร างมาตั้ งแต สมั ยอยุ ธยา ตอนปลายหรื อต นรั ตนโกสิ นทร แต มี การบู รณะซ อมแซม สื บต อกั นมาหลายครั้ ง โดยเฉพาะการซ อมแซมใหญ เมื่ อครั้ งสมั ยรั ชกาลที่ ๗ โดยพระเจ าบรมวงศ เธอ พระองค เจ าคำรพ (บิ ดาของ พลตรี มรว.คึ กฤทธิ์ ปราโมช) ได ซ อมพระประธานพร อมฐานพระด วยการป ดทอง ประดั บกระจกใหม และต อมาเมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๑๕ ได มี การปฏิ สั งขรณ อุ โบสถอี กครั้ ง และเปลี่ ยนพะไลหน า-หลั ง ทำเป นมุ ขแทน ดั งเช นที่ ปรากฏให เห็ นในป จจุ บั น

ภู มิ ประวั ติ ...วั ดเสาธงทอง

วั ดเสาธงทอง ตั้ งอยู ริ มฝ งแม น้ ำเจ าพระยาด าน ทิ ศเหนื อของเกาะเกร็ ด ในเขตหมู ที่ ๖ ตำบลเกาะเกร็ ด อำเภอปากเกร็ ด จั งหวั ดนนทบุ รี โดยหากใช เส นทาง เดิ นเท าลั ดเลาะมาจากวั ดปรมั ยยิ กาวาส ประมาณ ๗๐๐ เมตร เมื่ อผ านวั ดไผ ล อมไปเพี ยงเล็ กน อย ก็ จะถึ ง วั ดเสาธงทองซึ่ งเป นจุ ดหมายในการเยี่ ยมชมในครั้ งนี้ วั ดนี้ สั นนิ ษฐานว า น าจะสร างขึ้ นมาตั้ งแต สมั ย อยุ ธยาตอนปลายแล ว โดยเป นวั ดที่ กลุ มชาวมอญที่ อพยพมาตั้ งแต สมั ยอยุ ธยา-ธนบุ รี ได ช วยกั นสร างขึ้ น เล ากั นว าแต เดิ มพื้ นที่ นี้ มี ต นหมากขึ้ นหนาแน น ชาวบ าน จึ งเรี ยกกั นโดยทั่ วไปว า “วั ดสวนหมาก” ส วนชาวมอญ นิ ยมเรี ยกกั นว า “เพี้ ยอะลาต” ซึ่ งแปลว า “วั ดตะวั นตก” อั นเนื่ องจากถื อว าเป นวั ดสุ ดท ายที่ อยู ด านตะวั นตกของ เกาะเกร็ ด วั ดนี้ คงมี การบู รณะซ อมแซมสื บต อกั นมา หลายครั้ ง โดยเฉพาะในสมั ยรั ชกาลที่ ๔ มี ประวั ติ ว า เจ าจอมมารดาอำภา ในรั ชกาลที่ ๒ พร อมด วยกรมหมื่ น ภู บาลบริ รั กษ และกรมขุ นวรจั กรธารานุ ภาพ ได ร วมกั น บู รณะวั ดแห งนี้ และเปลี่ ยนนามวั ดเป น “วั ดเสาธงทอง” ต อมา เมื่ อราวป พ.ศ. ๒๔๕๖ เจ าจอมมารดามรกฎ (พ.ศ. ๒๓๙๘-๒๔๕๘) ในพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอม- เกล าเจ าอยู หั ว ได มาบำเพ็ ญกุ ศล และปฏิ บั ติ ธรรม อยู ที่ วั ดนี้ เป นประจำ จึ งได บู รณะพระอารามแห งนี้ อี ก ครั้ งหนึ่ ง เมื่ อเดิ นผ านเข าไปทางด านหน าวั ด จะแลเห็ นเจดี ย ตั้ งอยู คู กั นด านข างของอุ โบสถ เจดี ย ทั้ งสององค นี้ ผลจากการขุ ดแต งทางโบราณคดี พบว ามี ฐานล างอยู ใน ระดั บเดี ยวกั น จึ งสั นนิ ษฐานได ว า น าจะสร างขึ้ นในระยะ เวลาใกล เคี ยงกั น เจดี ย คู หน าอุ โบสถ : ความงดงามที่ แปลกตา

Powered by