Quarter 1/2015

หมู กุ ฎี และหอสวดมนต : กั บจิ ตรกรรมล้ ำค าที่ ซ อนเร น

ด านนอกมุ ขผนั งหน า เป นที่ ประดิ ษฐานรู ปเคารพ พระศรี อริ ยเมตตรั ย พระอนาคตพุ ทธเจ า ที่ ทำเป น พระพุ ทธรู ปมี พระเศี ยรโล น ทรงถื อตาลป ตร ส วนผนั ง มุ ขนอกด านหลั งประดิ ษฐานรู ปพระศรี ศากยมุ นี พระพุ ทธเจ าองค ป จจุ บั น วิ หารน อย เป นอาคารขนาดเล็ กทรงสี่ เหลี่ ยมผื นผ า มี มุ ขต อยื่ นด านหน า ในขณะนี้ มี พระพุ ทธรู ปปางไสยาสน ขนาดเล็ กเป นประธานของอาคาร มี ประวั ติ ว า เจ าจอม มารดามรกฎได บู รณะวิ หารนี้ อี กครั้ งหนึ่ ง เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๕๖ และป จจุ บั นทางวั ดได บู รณะวิ หารน อยนี้ ขึ้ นใหม แล ว ด านหลั งของอุ โบสถ เป นที่ ตั้ งของเจดี ย ขนาดใหญ ที่ สุ ดของวั ดเสาธงทอง ลั กษณะเป นเจดี ย ที่ ตั้ งบนฐาน ไพที ซ อนสองชั้ น ชั้ นแรกมี เจดี ย บริ วาร ๘ องค และชั้ น ที่ สองมี เจดี ย บริ วาร ๔ องค รวม ๒ ชั้ น เป น ๑๒ องค เมื่ อรวมกั บเจดี ย ประธานจึ งรวมเป นเจดี ย ๑๓ องค อั นตรงกั บธุ ดงควั ตร ๑๓ ประการของภิ กษุ สงฆ ชาวบ าน จึ งเรี ยกพระเจดี ย องค นี้ ว า “พระธุ ตั งคเจดี ย ” ลั กษณะของเจดี ย ประธาน เป นเจดี ย ย อมุ มไม ยี่ สิ บ เริ่ มต นจากฐานไพที ต อด วยฐานแข งสิ งห ซ อนสามชั้ น จึ งต อด วยมาลั ยลู กแก วอกไก และทรงระฆั งไม ยี่ สิ บ ส วนยอดเป นบั ลลั งก ปล องไฉนแบบบั วกลุ ม และปลี ยอด ตามลำดั บ ส วนเจดี ย บริ วารคล ายกั บเจดี ย ประธาน แต เป นเจดี ย ย อมุ มไม สิ บสอง และลดฐานแข งสิ งห ลง เหลื อเพี ยงชั้ นเดี ยว เจดี ย องค นี้ ถื อได ว ามี สั ดส วนที่ งดงามลงตั ว ประกอบกั บการที่ มี เจดี ย บริ วารที่ ซ อนลดหลั่ นกั นขึ้ นไป ทำให องค เจดี ย ดู มี ความเพรี ยวสู ง และงดงามมาก จนถื อได ว าเป นเจดี ย ย อมุ มไม ยี่ สิ บที่ มี ความงดงามที่ สุ ด ในเขตอำเภอปากเกร็ ด หรื อแม กระทั่ งในเขตของจั งหวั ด นนทบุ รี ก็ ว าได เมื่ อพิ จารณาจากสั ดส วนและการออกแบบเจดี ย องค นี้ สั นนิ ษฐานได ว า เจดี ย องค นี้ น าจะสร างขึ้ นในสมั ย อยุ ธยาตอนปลาย หรื อรั ตนโกสิ นทร ตอนต น กล าวคื อ น าจะสร างขึ้ นในครั้ งสมั ยแรกเริ่ มของการสร างวั ดนั่ นเอง พระธุ ตั งคเจดี ย : เจดี ย ย อมุ มไม ยี่ สิ บที่ งดงามที่ สุ ดของเกาะเกร็ ด

หมู กุ ฎี และหอสวดมนต ของวั ดเสาธงทอง มี ประวั ติ เล ากั นว า สร างขึ้ นเมื่ อราว ป พ.ศ.๒๔๕๖ โดยพระอุ ดม ญานมุ นี และขุ นเทพภั กดี (สง จารุ สั งข ) ร วมกั นสร างขึ้ น เพื่ อถวายให เป นเสนาสนะสมบั ติ ของวั ดแห งนี้ ลั กษณะ ของอาคารบริ เวณด านข างและด านหลั งทำเป นหมู ห อง กุ ฎี กั้ นอยู โดยรอบ ด านหน าทำเป นมุ ขยื่ นและซุ มประตู ทางเข า ตรงกลางทำเป นห องโถงใหญ ยกพื้ นสู งขึ้ นจาก พื้ นลานกุ ฏิ โดยรอบ ป จจุ บั นใช เป นหอสวดมนต ของ ทางวั ด สิ่ งสำคั ญของอาคารหลั งนี้ คื อ บริ เวณห องกลาง ของหอสวดมนต ที่ กั้ นเป นห องลู กกรงขนาดเล็ ก เพื่ อใช เก็ บรั กษาพระพุ ทธรู ปองค สำคั ญของทางวั ด มี ผนั งไม กั้ นสู งคล ายลั บแลอยู ที่ ผนั งสกั ดหลั ง บนฝาผนั งนี้ มี จิ ตรกรรมเขี ยนเอาไว อย างงดงาม โดยเขี ยนเป นภาพ พระพุ ทธรู ปยื นปางแสดงธรรมทั้ งสองข างและตรงกลาง เป นเรื่ องราวเหตุ การณ ในพุ ทธประวั ติ ตอนที่ พระพุ ทธองค ทรงเสวยวิ มุ ตติ สุ ขทั้ ง ๗ สั ปดาห หรื อที่ เรี ยกกั นว า “สั ตตมหาสถาน” จิ ตรกรรมชุ ดนี้ มี ความสวยงามยิ่ ง โดยเมื่ อพิ จารณาจากลั กษณะทางศิ ลปกรรมแล ว สั นนิ ษฐานว า น าจะเขี ยนขึ้ นในสมั ยรั ชกาลที่ ๔-๕ เป นต นมา อย างไรก็ ตาม ภาพจิ ตรกรรมดั งกล าวมิ ได เป ด ให เข าไปชม เนื่ องจากบริ เวณดั งกล าวใช เก็ บรั กษา พระพุ ทธรู ปสำคั ญเอาไว ทางวั ดหวั่ นเกรงในเรื่ องของ ความปลอดภั ย จึ งไม อนุ ญาตให เข าชม ซึ่ งนั บเป นสิ่ งที่ น าเสี ยดายยิ่ ง

อรุ ณศั กดิ์ กิ่ งมณี จบการศึ กษาปริ ญญาตรี และโท จากคณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร

สนใจเป นพิ เศษเกี่ ยวกั บเรื่ องเทพฮิ นดู รวมถึ งประติ มานวิ ทยา ของพุ ทธและฮิ นดู ป จจุ บั นรั บราชการตำแหน งนั กโบราณคดี ชำนาญการพิ เศษ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี

Powered by