แจกั นลายคราม ลายปลา
จากจดหมายเหตุ งานพระราชพิ ธี บรมราชาภิ เษก พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล าเจ าอยู หั วความว า “เมื่ อป กุ น พ.ศ.๒๓๙๔ ได โปรดเกล าฯ ขอแรงพระบรม วงศานุ วงศ ข าราชการเจ าภาษี นายอากร พ อค า นายสำเภา จั ดโต ะเครื่ องบู ชาแบบจี นเข ามาตั้ งใน พระบรมมหาราชวั ง บริ เวณพระราชมณเฑี ยรและวั ด พระศรี รั ตนศาสดาราม มี จำนวน ๑๐๐ โต ะ ในเวลา ต อมาในป พ.ศ.๒๔๐๐ เกิ ดประเพณี การตั้ งโต ะเครื่ อง บู ชาเนื่ องมาจากการจั ดตั้ งโต ะเอาไปตั้ งช วยกั นในเวลา ที่ มี งานตามวั งเจ า และบ านขุ นนางผู ใหญ แต เนื่ องจาก ในป นั้ นเองมี การจั ดงานวั นเกิ ดครบ ๕๐ ป อยู หลายแห ง และที่ สำคั ญที่ สุ ดคื อ งานวั นเกิ ดของสมเด็ จพระบรม มหาศรี สุ ริ ยวงศ ในงานนั้ นท านได มอบหมายให พระยา โชฎึ กราชเศรษฐี (พุ ก) เป นกรรมการตรวจสอบ เมื่ อ พิ จารณาแล วว าสิ่ งใดมี คุ ณสมบั ติ เป นของแปลกดี ก็ จะ ให เอาผ าแดงมาผู กทำขวั ญของชิ้ นนั้ น จึ งเป นหลั กฐาน ชั้ นต นๆ ของการใช ผ าแดงมาผู กเครื่ องโต ะจี น การประชุ มเครื่ องโต ะในเวลานั้ นเป นการประชุ มที่ ประสงค จะให เกิ ดความครึ กครื้ นแก นั กเล นโต ะและผู มา ร วมงาน จนกลายเป นประเพณี นิ ยมในเวลาต อมา” การตั้ งโต ะที่ สำคั ญในสมั ย ร.๔ ยั งมี ที่ สำคั ญอี ก ๒ ครั้ ง คื อ ครั้ งที่ ๑ พ.ศ.๒๔๐๔ การตั้ งโต ะพุ ทธาภิ เษกสมโภช พระบุ ษยรั ตน เมื่ อคราว ร.๔ สมมงคลพระชนมายุ เสมอด วย พระบาทสมเด็ จพระพุ ทธเลิ ศหล านภาลั ย พระบรมชนกนาถ ที่ วั ดพระศรี รั ตนศาสดาราม ครั้ งที่ ๒ พ.ศ.๒๔๐๔ ร.๔ จั ดงานเฉลิ มพระชนม พรรษาครบ ๖๑ พรรษา
การจั ดโต ะจี นเกิ ดจากพระราชนิ ยม
การตั้ งโต ะจี นมาจากการผสมผสานระหว าง การตั้ งเครื่ องบู ชากั บการเล นเครื่ องกระเบื้ อง การจั ด เครื่ องบู ชาอย างจี น จะต องจั ดถวายดอกไม จุ ดเที ยน เผาเครื่ องหอม ตั้ งเป นเครื่ องเซ นบู ชา ภาชนะที่ จำเป น บนโต ะคื อ เชิ งเที ยนคู หนึ่ ง ขวดป กดอกไม คู หนึ่ ง กระถางเผาเครื่ องหอมอี กหนึ่ ง รวมทั้ งเครื่ องถ วยจี น เครื่ องถ วยจี นได จากการค าสำเภาจี นซึ่ งมี มาแต ครั้ งอยุ ธยาเรื่ อยมาจนถึ งรั ตนโกสิ นทร การสั่ งเครื่ อง ถ วยจี นเข ามาในสมั ย ร.๑ เป นของหลวงใช ในราชสำนั ก และต อมาในสมั ย ร.๒ พระองค ทรงสะสมเครื่ องถ วยจี น และทรงนิ ยมผู กลายใหม ต างไปจากที่ ช างจี นขึ้ น เช น ลายกุ หลาบแบบไทย ลายสิ งโตแบบจี น กล าวได ว า เครื่ องถ วยที่ สั่ งมาในสมั ย ร.๒ ดี ที่ สุ ดต องเป นของ สมเด็ จพระศรี สุ ริ เยนทร สมเด็ จพระบรมราชิ นี ใน ร.๒ ความนิ ยมในศิ ลปะจี นสื บเนื่ องต อมาจนถึ ง ร.๔ และ ร.๕
Powered by FlippingBook