ใครบ างที่ มี ความเสี่ ยงต อการเกิ ดภาวะหั วใจหยุ ด เต นเฉี ยบพลั น “เนื่ องจากสาเหตุ ส วนใหญ เกิ ดจากภาวะเส นเลื อด หั วใจตี บ หรื ออุ ดตั น และหั วใจขาดเลื อดไปเลี้ ยงอย าง เฉี ยบพลั น ดั งนั้ นผู ที่ มี ความเสี่ ยงได แก ๑. กรรมพั นธุ เช น มี ประวั ติ ในครอบครั วเป นโรค เส นเลื อดหั วใจตี บ ๒. ผู ที่ สู บบุ หรี่ ๓. ความดั นโลหิ ตสู ง ๔. ไขมั นในเลื อดสู ง ๕. โรคอ วน ๖. เบาหวาน ๗. ผู ที่ ไม ค อยออกกำลั งกาย นั่ งๆ นอนๆ ๘. ดื่ มเครื่ องดื่ มที่ มี แอลกอฮอล มากกว าวั นละ ๒ แก ว ๙. ผู ชายที่ มี อายุ มากกว า ๔๕ ป และผู หญิ งที่ มี อายุ มากกว า ๕๕ ป
นพ. สมศั กดิ์ อมรวิ วั ฒน ผู อำนวยการทางการแพทย โครงการ AED
สาเหตุ ของภาวะหั วใจหยุ ดเต นเฉี ยบพลั น “สาเหตุ ส วนใหญ เกิ ดจากการเต นผิ ดปกติ ของหั วใจ โดยเฉพาะอย างยิ่ งในภาวะหั วใจเต นพริ้ ว (Ventricular Fibrillation) ซึ่ งสภาวะที่ หั วใจหยุ ดเต น หรื อหั วใจเต นพริ้ ว มั กพบในโรคต อไปนี้ ๑. เส นเลื อดหั วใจตี บหรื ออุ ดตั น (Coronary heart disease) ๒. ภาวะหั วใจขาดเลื อดไปเลี้ ยงอย างเฉี ยบพลั น ๓. ภาวะกล ามเนื้ อหั วใจโตและหนา (Cardiomyopathy) ๔. โรคลิ้ นหั วใจรั่ ว ๕. โรคหั วใจผิ ดปกติ แต กำเนิ ด ๖. ภาวะระบบคลื่ นไฟฟ าในหั วใจผิ ดปกติ เช น Brugada Syndrome (โรคไหลตาย)”
สำหรั บในกลุ มนั กกี ฬา หรื อในกลุ มคนวั ยหนุ มสาว ที่ มี อายุ ต่ ำกว า ๓๕ ป และเกิ ดมี ภาวะหั วใจหยุ ดเต น เฉี ยบพลั น อาจพบได ในภาวะกล ามเนื้ อหั วใจโตและ หนา (โดยไม ทราบมาก อน)”
Powered by FlippingBook