Quarter 1/2013

ต อมา มหาพรหมราชิ นี ได รั บพระราชานุ ญาต จากสมเด็ จ พระนางเจ าสิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี นาถ เมื่ อวั นที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ให ใช พระนามาภิ ไธย เป นชื่ อพรรณไม ในสกุ ลมหาพรหม ที่ สำรวจพบชนิ ดใหม ของโลกว า มหาพรหมราชิ นี มี ชื่ อวิ ทยาศาสตร Mitrephora sirikitiae Weerasooriya, Chalermglin & R.M.K. Saunders ได ตี พิ มพ รายงานในวารสารการจำแนกพรรณไม นานา- ชาติ Nordic ที่ ออกในประเทศเดนมาร ก ในป พ.ศ. ๒๕๔๗ จาก การเก็ บตั วอย างของผู เขี ยน เมื่ อวั นที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จากอุ ทยานแห งชาติ น้ ำตกแม สุ ริ นทร ตำบลห วยปู ลิ ง อำเภอเมื อง จั งหวั ดแม ฮ องสอน ที่ ระดั บความสู ง ๑,๑๐๐ เมตร แล วนำเสนอ ในวารสารความรู คื อประที ป ฉบั บที่ ๓/๔๘ หน า ๒๐-๒๕ และล าสุ ดคื อ มะลิ เฉลิ มนริ นทร ได รั บพระบรมราชานุ ญาต จากพระบาทสมเด็ จพระเจ าอยู หั วภู มิ พลอดุ ลยเดชมหาราช เมื่ อ วั นที่ ๑๗ ธั นวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ให อั ญเชิ ญพระปรมาภิ ไธย เป น ชื่ อวิ ทยาศาสตร ของต นมะลิ ชนิ ดใหม ของโลก ว า Jasminum bhumibolianum Chalermglin ได รายงานในวารสาร การจำแนกพรรณไม นานาชาติ Blumea ที่ ออกในประเทศ เนเธอร แลนด จากการเก็ บตั วอย างของผู เขี ยน เมื่ อวั นที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จากเนิ นเขาหิ นปู น ระดั บความสู ง ๗๑๕ เมตร ในภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อตอนบน โดยทั่ วไปมะลิ เป นพรรณไม เลื้ อย แต บางชนิ ดเมื่ อได รั บ การปลู กลงแปลงกลางแจ งให ห างจากต นไม อื่ น สามารถที่ จะตั้ งต น เป นพุ มอยู ได เอง ที่ เรี ยกลั กษณะเช นนี้ ว า ไม พุ มรอเลื้ อย เตรี ยม พร อมที่ จะเลื้ อยได หากอยู ชิ ดกั บต นไม อื่ น มะลิ เป นพรรณไม เลื้ อย เนื้ อแข็ งขนาดเล็ กที่ อยู ในวงศ มะลิ (Family Oleaceae) และอยู ใน สกุ ลมะลิ (Genus Jasminum) ส วนใหญ แล วพรรณไม ในสกุ ลมะลิ ขึ้ นกระจายพั นธุ อยู ในเขตร อนของโลก มี อยู ทั้ งหมดทั่ วโลกประมาณ ๒๕๐ ชนิ ด เป นพรรณไม พื้ นเมื องของไทยประมาณ ๓๕ ชนิ ด สามารถขึ้ นได ตั้ งแต บนยอดดอยที่ สู งที่ สุ ดในประเทศไทย คื อบน ยอดดอยอิ นทนนท ที่ มี ความสู งถึ ง ๒,๕๖๕ เมตร และขึ้ นกระจาย ในป าทุ กประเภท นั บตั้ งแต ป าดิ บชื้ น ป าดิ บแล ง ป าเบญจพรรณ ป าเต็ งรั ง ป าละเมาะ ตามทุ งหญ า จนถึ งป าพรุ สามารถขึ้ นได ในทุ กระดั บความสู ง

ส วนใหญ แล วเมื่ อมะลิ มี ดอกบานจะมี ขนาดเส นผ านศู นย กลาง เฉลี่ ย ๒๐-๓๕ มิ ลลิ เมตร และมี กลี บดอกสี ขาว มะลิ ที่ คนไทยรู จั ก กั นดี คื อ มะลิ ลา และ มะลิ ซ อน เนื่ องจากมี การปลู กใช ประโยชน เป นไม ดอกไม ประดั บกั นมานาน ถึ งแม ว ามะลิ ทั้ งสองชนิ ดมี ถิ่ น กำเนิ ดเดิ มอยู ในคาบสมุ ทรอาหรั บและกระจายมาจนถึ งอิ นเดี ย และนำเข ามาปลู กในประเทศไทยตั้ งแต สมั ยกรุ งสุ โขทั ย พบหลั กฐาน อยู ในบทวรรณคดี ไทยเก าๆ มากมาย ดอกมี กลิ่ นหอม จึ งนิ ยมนำ ดอกสดไปบู ชาพระ ร อยมาลั ย ลอยแช ในน้ ำดื่ ม ดอกแห งมี คุ ณสมบั ติ เป นสมุ นไพร นำมาบดหรื อปรุ งเป นยาหอมบำรุ งหั วใจ แต อย างไร ก็ ตามการใช ประโยชน จากมะลิ พื้ นเมื องของคนไทยก็ ยั งมี น อยมาก หากแต เมื่ อท านได เข าไปเดิ นเที่ ยวในป า ท านก็ จะประจั กษ ด วย ตั วเองว า มะลิ ป าเป นพรรณไม ที่ ส งกลิ่ นหอมฟุ งไปทั่ วราวป า ในแต ละฤดู มะลิ แต ละชนิ ดก็ จะหมุ นกั น ออกดอก ส งกลิ่ นให ผู มาเยื อน ได เชยชมกั นได ทุ กครั้ ง

ของแต ละภาค จนถึ งที่ ราบ ชายฝ งทะเล รวมทั้ งตามเกาะ แก งต างๆ ทั้ งในฝ งอ าวไทยและ ฝ งอั นดามั น

Powered by