Quarter 4/2012

การปล อยก าซคาร บอนไดออกไซด จากการใช พลั งงานแบ งตามภู มิ ภาค

ความต องการพลั งงานโลก พั นล านล านบี ที ยู

พั นล านตั น

40

1250

1000

ประเทศอื่ นๆ นอกกลุ ม OECD

การประหยั ดพลั งงานที่ เกิ ดจาก การใช อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ

30

750

อิ นเดี ย

20

500

จี น

10

250

ประเทศกลุ ม OECD

0

0

2000

2020

2040

2000

2020

2040

น้ ำมั นจะยั งคงเป นเชื้ อเพลิ งที่ มี การใช อย างแพร หลายมาก ที่ สุ ด แต คาดว าก าซธรรมชาติ ซึ่ งเป นเชื้ อเพลิ งสำคั ญที่ กำลั งเติ บโต เร็ วที่ สุ ดในขณะนี้ จะเข ามาแทนที่ ถ านหิ นและกลายเป นเชื้ อเพลิ ง ที่ มี การใช มากเป นอั นดั บสองภายในป ค.ศ. ๒๐๒๕ เมื่ อถึ งป ค.ศ. ๒๐๔๐ ความต องการใช ก าซธรรมชาติ จะเพิ่ มขึ้ นประมาณร อยละ ๖๕ และร อยละ ๒๐ ของการผลิ ตก าซธรรมชาติ ในโลก จะมาจาก อเมริ กาเหนื อ ทั้ งจากแหล งที่ กำลั งเติ บโต คื อหิ นน้ ำมั น และจาก แหล งทรั พยากรอื่ นๆ ที่ ยั งไม มี การค นพบ รายงานฉบั บนี้ ระบุ ว าเทคโนโลยี ใหม ๆ จะยั งคงเป นหั วใจของ การพั ฒนาพลั งงานที่ น าไว วางใจ ในราคาที่ หาซื้ อมาใช ได ซึ่ งเป น สิ่ งสำคั ญต อการเติ บโตทางเศรษฐกิ จและความก าวหน าของมนุ ษย ความเจริ ญทางเทคโนโลยี เกี่ ยวกั บน้ ำมั นและก าซธรรมชาติ ช วยให เราเข าถึ งแหล งพลั งงานใหม ๆ อั นกว างใหญ ไพศาลอย างปลอดภั ย เปลี่ ยนแปลงภาพภู มิ ทั ศน พลั งงานในอเมริ กาเหนื อ ซึ่ งกำลั งขยาย ตั วเพื่ อให ได พลั งงานอย างเพี ยงพอต อความต องการของโลกที่ กำลั ง เพิ่ มขึ้ นมากขึ้ นทุ กที

ในรายงานซึ่ งเป นการคาดการณ รายป ของเอ็ กซอนโมบิ ล ความต องการพลั งงานของโลกในป ค.ศ. ๒๐๔๐ จะสู งกว าในป ค.ศ. ๒๐๑๐ ประมาณร อยละ ๓๕ การใช พลั งงานอย างประหยั ด และมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น ตลอดจนการใช เทคโนโลยี ที่ ก าวหน า เช น การใช เชื้ อเพลิ งที่ มี ปริ มาณคาร บอนน อยลง เช น ก าซธรรมชาติ พลั งงานนิ วเคลี ยร และพลั งงานหมุ นเวี ยน การพั ฒนาแหล งพลั งงาน ใหม ที่ ยั งไม สามารถเข าถึ งได ก อนหน านี้ เนื่ องจากขาดเทคโนโลยี ที่ เหมาะสม จะช วยตอบสนองความต องการพลั งงานในอนาคต

Powered by