Quarter 4/2012

คำว า ‘พุ ทธชยั นตี ’ เกิ ดจากการนำคำว า ‘พุ ทธ’ ที่ แปลว า ผู รู ผู ตื่ น ผู เบิ กบาน ซึ่ งหมายถึ ง สมเด็ จพระสั มมา สั มพุ ทธเจ า มารวมกั บคำว า ‘ชยั นตี ’ ที่ มาจากคำว า ‘ชย’

สั มพุ ทธชยั นตี

แปลว า ชั ยชนะ พุ ทธชยั นตี จึ งหมายถึ งการตรั สรู และการ บั งเกิ ดขึ้ นของพระสั มมาสั มพุ ทธเจ า อั นนำมาซึ่ งชั ยชนะและอิ สรภาพแก มวล มนุ ษยชาติ ด วยเหตุ แห งชั ยชนะต อกิ เลสทั้ งปวง

ของพระพุ ทธองค หลั งจากที่ สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ าเสด็ จดั บขั นธปริ - นิ พพานเมื่ อพระชนมายุ ๘๐ พรรษา ซึ่ งเริ่ มนั บเป น พ.ศ. ๑ เมื่ อ นั บรวมกั บที่ ทรงสั่ งสอนและเผยแผ พระพุ ทธศาสนา ถื อว าครบ ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู แม เมื่ อเสด็ จดั บขั นธปริ นิ พพานไปนานแล ว พระธรรมคำสอนนั้ น ก็ ยั งคงแพร ขยายไปสู นานาประเทศทั่ วโลก ทำให บรรดาพุ ทธศาสนิ กชนมี โอกาสยึ ดพระธรรมคำสอนเป นหลั ก ในการดำเนิ นชี วิ ตสื บมาจนถึ งป จจุ บั น ศาสนาพุ ทธจึ งถื อได ว าเป น ศาสนาเก าแก และมี ความสำคั ญยิ่ งของโลกศาสนาหนึ่ ง แม องค การ สหประชาชาติ ก็ ยั งประกาศให วั นที่ สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ า ประสู ติ ตรั สรู และปริ นิ พพาน เป นวั นแห งการฉลองทั่ วโลก เรี ยก ว า ‘United Nations Day of Vesak’ สถานที่ ตรั สรู อั นศั กดิ์ สิ ทธิ์ ริ มฝ งแม น้ ำเนรั ญชรา อั นมี พระมหาเจดี ย พุ ทธคยา และต นพระศรี มหาโพธิ์ เป นเครื่ องหมาย ซึ่ งได กลายเป นศู นย รวมชาวพุ ทธทั่ วโลก แห งนี้ ป จจุ บั นอยู ในตำบลคยา เมื องคยา รั ฐพิ หาร ประเทศอิ นเดี ย การฉลอง ‘พุ ทธชยั นตี ’ : ความเป นมา การฉลองพุ ทธชยั นตี เริ่ มจั ดขึ้ นเป นครั้ งแรกที่ ศรี ลั งกาในราว ป พ.ศ. ๒๕๐๐ เมื่ อพระพุ ทธศาสนา มี อายุ ถึ งกึ่ งพุ ทธกาล โดยใน ครั้ งนั้ น ได กำหนดนั บวั นที่ สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ าเสด็ จดั บ ขั นธปริ นิ พพานเป นวั นแห งการฉลองพุ ทธชยั นตี โดย ฯพณฯ อู ถั่ น อดี ตเลขาธิ การองค การสหประชาชาติ ซึ่ งเป นชาวพม านั บถื อพุ ทธ ได ดำริ ให ชาวพุ ทธทั่ วโลกร วมกั นบู รณะฟ นฟู ลุ มพิ นี วั น อั นเป น สถานที่ ประสู ติ ป จจุ บั นอยู ในประเทศเนปาล ให เป น ‘พุ ทธอุ ทยาน ประวั ติ ศาสตร ของโลก’ และเรี ยกการจั ดกิ จกรรมในวาระสำคั ญ ครั้ งนั้ นว า ‘การฉลองพุ ทธชยั นตี ๒๕ พุ ทธศตวรรษ’ (2500 Buddha Jayanti Celebration) โดยนำคำว า พุ ทธชยั นตี (Buddha Jayanti) ซึ่ งเป นคำเรี ยก วั นครบรอบ ของชาวอิ นเดี ย และเนปาลมาใช เป นการให เกี ยรติ ประเทศซึ่ งเป นที่ ตั้ งของพุ ทธ สั งเวชนี ยสถาน ทั้ งยั งรณรงค ให ประเทศต างๆ ที่ นั บถื อพระพุ ทธ ศาสนา จั ดกิ จกรรมเฉลิ มฉลองภายในประเทศในป นั้ นด วย th

â´Â ¸Ñ Þ´Å

‘พุ ทธชยั นตี ’ : ชั ยชนะ และ อิ สรภาพ พุ ทธชยั นตี หรื อ สั มพุ ทธชยั นตี (Sambuddha Jayanthi) ในภาษาสั นสกฤต หมายความถึ งการครบรอบวั นเกิ ดของพระพุ ทธ ศาสนา หรื อวั นครบรอบชั ยชนะของพระพุ ทธเจ า การบั ญญั ติ คำว า ‘พุ ทธชยั นตี ’ หรื อการฉลองพุ ทธชยั นตี ขึ้ นมานี้ มี จุ ดมุ งหมายเพื่ อ น อมรำลึ กถึ งเหตุ การณ สำคั ญที่ เกี่ ยวเนื่ องกั บสมเด็ จพระสั มมา สั มพุ ทธเจ า เช น วั นแห งการประสู ติ ตรั สรู และปริ นิ พพาน อั นเป น วั นสำคั ญทางพุ ทธศาสนาเถรวาท ที่ มี ความเกี่ ยวเนื่ องกั บวั นวิ สาข- บู ชา คำ ‘พุ ทธชยั นตี ’ นี้ ใช กั นทั่ วไปในศรี ลั งกา อิ นเดี ย พม า และ ในหมู ผู นั บถื อพระพุ ทธศาสนาในบางประเทศ โดยแต ละประเทศ อาจใช ชื่ อเรี ยกแตกต างกั นออกไปบ าง เช น พุ ทธชยั นตี ศรี สั มพุ ทธ ชั นตี หรื อ สั มพุ ทธชยั นตี แต ต างก็ หมายถึ งการจั ดกิ จกรรมฉลอง พุ ทธชยั นตี ตลอดทั้ งป เพื่ อเป นพุ ทธบู ชาเช นเดี ยวกั น

Powered by