ส วนการเฉลิ มฉลองในระดั บนานาชาติ นั้ น รั ฐบาลพม าได เป นเจ าภาพในการจั ดสั งคายนาพระไตรป ฎกนานาชาติ โดยนำ พระไตรป ฎกของแต ละประเทศมาเที ยบเคี ยงความถู กต อง เรี ยกว า ‘ฉั ฏฐสั งคี ติ ’ เนื่ องจากนั บเป นการสั งคายนาพระไตรป ฎกครั้ งที่ ๖ ของพม า นอกจากนี้ ยั งมี การจั ดพิ มพ พระไตรป ฎกบาลี และ คั มภี ร ต างๆ เป นจำนวนมาก มี พระสงฆ จากประเทศไทยและ ทั่ วโลกเข าร วมสั งคายนาพระไตรป ฎกครั้ งดั งกล าว ซึ่ งนั บเป นก าว แรกที่ นำไปสู การเป นที่ ยอมรั บของพระสงฆ ไทยในระดั บนานาชาติ ในป จจุ บั น สำหรั บประเทศไทยในเวลานั้ น ตรงกั บรั ฐบาลของจอมพล ป. พิ บู ลสงคราม ก็ ได ร วมเฉลิ มฉลองพุ ทธชยั นตี ๒๕ พุ ทธศตวรรษ ด วยเช นกั น โดยจั ดเป นงานฉลองทางพระพุ ทธศาสนาที่ ยิ่ งใหญ ของประเทศไทย มี การจั ดสร างพุ ทธมณฑลเป นอนุ สรณ สถาน ที่ อำเภอนครชั ยศรี (ป จจุ บั นเป นอำเภอพุ ทธมณฑล) จั งหวั ดนครปฐม พร อมกั บสร างพระศรี ศากยะทศพลญาณ ประธานพุ ทธมณฑล สุ ทรรศน อั นเป นพระพุ ทธรู ปยื นปางลี ลาขนาดใหญ ประดิ ษฐาน เป นประธาน ณ พุ ทธมณฑล ให เป นพุ ทธสั ญลั กษณ แห งพุ ทธ ศตวรรษที่ ๒๕ สั มพุ ทธชยั นตี : ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู อี ก ๕๕ ป ต อมา รั ฐบาลไทยได ประกาศให ป พ.ศ. ๒๕๕๕ เป นป แห งการเฉลิ มฉลองพุ ทธชยั นตี อย างยิ่ งใหญ ตลอดทั้ งป ใน วาระที่ พระพุ ทธศาสนามี อายุ ครบ ๒,๖๐๐ ป โดยกำหนดนั บวั นที่ พระบรมศาสดาตรั สรู เป นพระสั มมาสั มพุ ทธเจ า เวี ยนมาบรรจบ ครบรอบ ๒๖ พุ ทธศตวรรษ หรื อ ๒,๖๐๐ ป เป นวั นฉลองพุ ทธ- ชยั นตี วั นฉลองนี้ เรี ยกตามสากลว า ‘Sambuddha Jayanti 2600’ ตรงกั บภาษาไทยว า ‘สั มพุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป ’ ทั้ งนี้ อาจมี การใช ชื่ อต างกั นไปบ างในแต ละประเทศ สำหรั บประเทศไทยนั้ น มหาเถรสมาคมได มี มติ ให เรี ยกงานฉลองนี้ ว า ‘พุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู ของพระพุ ทธเจ า’ ถึ งแม จะเรี ยกชื่ อแตกต างกั นไป หากรวมความแล ว ก็ คื อ การจั ดกิ จกรรมในป ที่ ครบรอบวาระสำคั ญ ที่ เกี่ ยวข องกั บสมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ า เพื่ อถวายเป นพุ ทธบู ชา ดั งที่ เคยฉลองครบรอบ ๒๕ พุ ทธศตวรรษเมื่ อป พ.ศ. ๒๕๐๐ มาแล ว ประเทศที่ ประชากรส วนใหญ นั บถื อพระพุ ทธศาสนา ได จั ด งานพุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู ขึ้ นพร อมกั นในป พ.ศ. ๒๕๕๕ และประกาศให มี การเฉลิ มฉลองวาระนี้ เป นเวลา ๓ ป (๒๕๕๓-๒๕๕๕) แต เนื่ องด วยวิ ธี การนั บพุ ทธศั กราชที่ แตกต างกั น ทำให ประเทศต างๆ เช น อิ นเดี ย ศรี ลั งกา และพม า จั ดงานฉลอง พุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ แห งการตรั สรู ในเดื อนพฤษภาคม ๒๕๕๔ เร็ วกว าประเทศไทย ๑ ป เนื่ องจากวิ ธี คำนวณนั บ พ.ศ. แบบไทย ที่ อาจเที ยบเคี ยงได กั บวิ ธี นั บป เกิ ดนั้ น ไม นั บที่ การย างเข า หากนั บ ที่ การครบรอบ จึ งจะถื อเป นป เต็ ม อย างไรก็ ตาม หากยึ ดหลั กการ
คำนวณป พุ ทธศั กราชแบบไทยแล ว วาระสำคั ญพุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู นี้ จะอยู ในช วงระหว างวิ สาขบู ชาป ๒๕๕๔ – วิ สาขบู ชาป ๒๕๕๕ โดยวั นวิ สาขบู ชาป ๒๕๕๔ ตรงกั บวั นที่ ๑๗ พฤษภาคม เป นวั นที่ สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ าตรั สรู ครบ ๒๕๕๙ ป เต็ ม ย างเข าสู ป ที่ ๒๖๐๐ และนั บว าพระพุ ทธศาสนา ครบ ๒๖๐๐ ป เต็ มในวั นวิ สาขบู ชา ซึ่ งตรงกั บวั นที่ ๔ มิ ถุ นายน พ.ศ. ๒๕๕๕ คณะกรรมการจั ดงานวิ สาขบู ชาโลก ๑๔ ประเทศ ได มี มติ ให ประเทศไทยเป นเจ าภาพจั ดประชุ มวิ สาขบู ชานานาชาติ ครั้ งที่ ๙ ป พ.ศ. ๒๕๕๕ จากประเทศที่ เสนอตั วเป นเจ าภาพจั ดงาน ๒ ประเทศ คื อ ศรี ลั งกา และไทย เป นการถวายเป นพุ ทธบู ชาฉลอง ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู แล ว รั ฐบาลจึ งได ประกาศให มี การเฉลิ ม ฉลองใหญ ตลอดป พุ ทธศั กราช ๒๕๕๕ อย างเป นทางการ ทั้ งใน ระดั บประเทศ และระดั บนานาชาติ โดยเน นหนั กด านการปฏิ บั ติ บู ชา และการมี ส วนร วมของภาคประชาชน ส งเสริ มและให การ สนั บสนุ นการปฏิ บั ติ ธรรมในหมู พุ ทธศาสนิ กชน ฟ นฟู วิ ถี ชาวพุ ทธ ในระดั บครอบครั ว และชุ มชนอย างจริ งจั ง ต อเนื่ อง และยั่ งยื น เพื่ อเสริ มสร างความรั ก ความสามั คคี และสร างความมั่ นคงให กั บ ชาติ บ านเมื อง สำนั กงานพระพุ ทธศาสนาแห งชาติ เป นหน วยงานหลั กอี ก แห งหนึ่ งที่ จั ดกิ จกรรมเน นบู รณาการด านการศึ กษา ปฏิ บั ติ และ เผยแผ หลั กธรรมที่ สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ าตรั สรู และทรง สั่ งสอน ไปสู ประชาชนทุ กเพศทุ กวั ยอย างกว างขวาง รวมถึ งการ กำหนดแนวทางของการจั ดกิ จกรรมให ถู กต อง เหมาะสม และ สอดคล องกั บมติ ที่ ประชุ มของมหาเถรสมาคม ที่ เห็ นชอบให จั ด กิ จกรรมในวั นสำคั ญทางศาสนาเป นพิ เศษทั้ ง ๓ วั น คื อ วั นมาฆบู ชา วั นวิ สาขบู ชา และวั นอาสาฬหบู ชา ระยะเวลาจั ดงาน คื อ ตั้ งแต เทศกาลวิ สาขบู ชา วั นที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ไปจนถึ ง สิ้ นป เดี ยวกั น โดยมี พุ ทธมณฑลเป นศู นย กลางพระพุ ทธศาสนาโลก
Powered by FlippingBook