Quarter 4/2012

ธงสั ญลั กษณ งานฉลองพุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป แห งการตรั สรู เป นธงรู ปสี่ เหลี่ ยมผื นผ า ขนาดเท ากั บธงธรรมจั กรทั่ วไป พื้ นสี เหลื อง มี รู ปใบโพธิ์ รอบธรรมจั กร หมายถึ ง การตรั สรู แห งองค สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ า ในวงธรรมจั กรเป นสี ธงฉั พพรรณรั งสี ซี่ ธรรมจั กรจำนวน ๑๒ ซี่ หมายถึ งญาณ ๓ ในอริ ยสั จ ๔ ตามหลั ก ธรรมคำสั่ งสอนของพระพุ ทธเจ า กนกลายไทยชู ช อฟ า หมายถึ งผื น แผ นดิ นไทยอั นรุ งเรื องด วยอารยธรรมนี้ ได เชิ ดชู พระธรรมคำสั่ ง สอนของพระพุ ทธเจ า ให อำนวยประโยชน สุ ขแก มวลมนุ ษยชาติ และจะดำรงอยู คู ผื นแผ นดิ นไทยตราบชั่ วกั ลปาวสาน ธงสั ญลั กษณ ฯ นี้ มี ชื่ อภาษาไทยอยู ด านล างของใบโพธิ์ มี ชื่ อภาษาอั งกฤษอยู รอบ วงธรรมจั กร ส วนการจั ดงานในระดั บนานาชาติ นั้ น ประเทศไทยได เป น เจ าภาพจั ดประชุ มสั มมนาทางวิ ชาการเกี่ ยวกั บพระพุ ทธศาสนา ในฐานะศู นย กลางพระพุ ทธศาสนาโลก มี ชาวพุ ทธจาก ๘๕ ประเทศ ทั่ วโลกกว า ๕,๐๐๐ รู ป/คน ประกอบด วยผู นำทางการเมื อง ประมุ ข สงฆ ผู นำองค กรชาวพุ ทธ และพุ ทธศาสนิ กชนทั่ วไป เดิ นทางมา ร วมงาน และร วมประชุ มสั มมนาทางวิ ชาการระดั บนานาชาติ อั นประกอบด วยหั วข อสำคั ญ คื อ พุ ทธิ ป ญญาและความปรองดอง พุ ทธิ ป ญญาและสิ่ งแวดล อมและพุ ทธิ ป ญญาและการปรั บเปลี่ ยน ชี วิ ตมนุ ษย ทั้ งยั งมี การมอบรางวั ลผู นำการเผยแผ พระพุ ทธศาสนา ในระดั บนานาชาติ แก ผู นำชาวพุ ทธทั่ วโลกเป นครั้ งแรกด วย นั บเป น การประชุ มระดั บนานาชาติ ที่ มี ชาวพุ ทธทั้ งฝ ายเถรวาทและ มหายานเข าร วมประชุ มมากที่ สุ ดครั้ งหนึ่ งในประวั ติ ศาสตร พระ พุ ทธศาสนา การประชุ มครั้ งนี้ ถื อเป นการสร างความร วมมื ออั นดี ระหว าง องค กรชาวพุ ทธตั้ งแต ระดั บประชาคมอาเซี ยนไปจนถึ งนานาชาติ เพื่ อนำพระพุ ทธศาสนาก าวไปสู พุ ทธศตวรรษที่ ๒๖ ตามนโยบาย ของคณะสงฆ และรั ฐบาลไทย ทั้ งยั งช วยก อให เกิ ดความสามั คคี และความเข าใจอั นดี ระหว างชาวพุ ทธในประเทศต างๆ เป นการ เสริ มความแข็ งแกร งให กั บพระพุ ทธศาสนา เพื่ อความยั่ งยื นถาวร และดำรงอยู กั บชาวโลกต อไป อี กนานเท านาน

ส วนระยะเวลาของการจั ดงานเฉพาะช วง ‘สั ปดาห เทศกาล วิ สาขบู ชา ประจำป ๒๕๕๕’ นั้ น เริ่ มตั้ งแต วั นที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๔ มิ ถุ นายน ๒๕๕๕ รวม ๗ วั น กิ จกรรมต างๆ ที่ จั ดขึ้ นมุ งเน น เรื่ องการศึ กษา การเผยแผ การปฏิ บั ติ ตามหลั กธรรม และการมี ส วนร วมของทุ กภาคส วน การจั ดกิ จกรรมประชุ มสั มมนาทาง วิ ชาการเพื่ อถ ายทอดความรู เกี่ ยวกั บพระพุ ทธศาสนา เป ดโอกาส ให พุ ทธศาสนิ กชนได เรี ยนรู และเข าใจหลั กธรรมในพระพุ ทธศาสนา มากขึ้ น ทั้ งในระดั บประเทศและนานาชาติ การจั ดงานในระดั บประเทศ ประกอบด วย ๑. พิ ธี หลวง ประกอบด วย พิ ธี อั ญเชิ ญพระบรมสารี ริ กธาตุ หลวงจากพระบรมมหาราชวั งไปประดิ ษฐานยั งมณฑลพิ ธี งาน พุ ทธชยั นตี ๒๖๐๐ ป ณ ท องสนามหลวง ๒. รั ฐพิ ธี ได แก พิ ธี ต างๆ ที่ ภาครั ฐอำนวยการ รวมถึ งพิ ธี ต างๆ ที่ มหาเถรสมาคมโดยคณะสงฆ ไทย ดำริ หรื อมี มติ ให จั ดเป น กิ จกรรม โดยอาศั ยการสนั บสนุ นและงบประมาณของรั ฐ เช น การจั ดตั้ งคณะอำนวยการจั ดงานฯ การจั ดกิ จกรรมส งเสริ มพระ พุ ทธศาสนา กิ จกรรมทางวิ ชาการ และกิ จกรรม ‘๑ จั งหวั ด ๑ อำเภอ ๑ ท องถิ่ น : ๑ พุ ทธบู ชา’ เป นต น ๓. ราษฎร พิ ธี ได แก พิ ธี ในรู ปแบบต างๆ ที่ วั ด พระสงฆ และ องค กรภาคเอกชน รวมทั้ งประชาชนร วมกั นจั ดขึ้ นด วยความศรั ทธา อาทิ กิ จกรรมการเวี ยนเที ยน การทำบุ ญและถวายมหาสั งฆทาน การอั ญเชิ ญพระบรมสารี ริ กธาตุ การฉายภาพยนตร สื่ อธรรมะทาง พระพุ ทธศาสนา การตั กบาตรพระสงฆ ๑,๐๐๐,๐๐๐ รู ป ฯลฯ ที่ พุ ทธมณฑล มี การเฉลิ มฉลองอย างยิ่ งใหญ ของคณะสงฆ ไทย คณะสงฆ นานาชาติ และผู นำชาวพุ ทธทั่ วโลกกว า ๘๕ ประเทศ จั ดพิ ธี วางศิ ลาฤกษ อาคารศู นย กลางพระพุ ทธศาสนาโลก เพื่ อ ประกาศเริ่ มต นการดำเนิ นงานที่ ประเทศไทย ซึ่ งได รั บการยอมรั บ ให เป นศู นย กลางพุ ทธศาสนาโลก พร อมกั นนี้ ยั งจั ดกิ จกรรมอื่ นๆ เพื่ อเป นสั ญลั กษณ แห งการฉลองครบรอบ ๒๖ พุ ทธศตวรรษ อาทิ การบู รณะวั ดไทยแห งแรกในประเทศอิ นเดี ย คื อ วั ดไทยพุ ทธคยา การบู รณปฏิ สั งขรณ สถานที่ ประสู ติ ขององค สมเด็ จพระสั มมา สั มพุ ทธเจ า ณ ลุ มพิ นี สถาน ประเทศเนปาล

‘ธั ญดล’ เปรี ยญธรรม ๗ ประโยค พุ ทธศาสตร บั ณฑิ ต มหาวิ ทยาลั ยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลั ย ศึ กษาศาสตร บั ณฑิ ต และนิ ติ ศาสตร บั ณฑิ ต มหาวิ ทยาลั ยสุ โขทั ยธรรมาธิ ราช

นิ ติ ศาสตร บั ณฑิ ต มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร เนติ บั ณฑิ ตไทย ทนายความ ผู จั ดรายการธรรมะทางวิ ทยุ และนั กเขี ยนอิ สระ

Powered by