Quarter 4/2012

ประเพณี เรี ยกขวั ญ

àÃ×è ͧáÅÐÀÒ¾ â´Â ÇÔ ÊØ ·¸Ô ¨Ô µÃÒ ÇÒ¹Ô ªÊÁºÑ µÔ

กะเหรี่ ยงในหน าประวั ติ ศาสตร ไทย ที่ สวนผึ้ ง จั งหวั ดราชบุ รี มี ด านที่ สำคั ญอยู ด านหนึ่ งชื่ อ ‘ด าน เจ าขว าว’ ตั้ งอยู บริ เวณเหนื อตำบลป าหวาย อาจารย วุ ฒิ บุ ญเลิ ศ ปราชญ ชาวบ านแห งอำเภอสวนผึ้ ง ได เล าว า บทบาทหน าที่ ของ ชาวกะเหรี่ ยงสวนผึ้ งในอดี ต คื อคอยดู แลเขตแดนไทยด านตะวั นตก ของเมื องราชบุ รี ในราวป พ.ศ. ๒๔๔๔ พระบาทสมเด็ จพระจุ ล- จอมเกล าเจ าอยู หั ว รั ชกาลที่ ๕ ทรงแต งตั้ ง พุ งเลี่ ยงเฮ ผู นำกะเหรี่ ยง ต นตระกู ล ‘คุ งลึ ง’ และ ‘บุ ญเลิ ศ’ เป น หลวงพิ ทั กษ คี รี มาตย นายกองด านเจ าขว าวคนแรก ได รั บเบี้ ยหวั ดรายป และต องลงไป ถื อน้ ำพิ พั ฒน สั ตยาที่ เมื องราชบุ รี ทุ กๆ สามป เช นเดี ยวกั บนายกอง ด านชายแดนสั งขละบุ รี และทรงแต งตั้ ง หลวงวิ เศษคี รี รั กษ เป น นายกองด านบ านยางหั ก อำเภอปากท อในคราวเดี ยวกั น ต อมา ในตอนปลายรั ชกาลที่ ๘ สภาพพื้ นที่ ชายแดนจั งหวั ดราชบุ รี ใน บริ เวณพื้ นที่ ชายขอบที่ เป นป าเขาทางด านตะวั นตกของไทยนี้ มี สั ตว ป าชุ กชุ มและมี ของป าที่ เป นสิ นค าออกสำคั ญของไทยในสมั ย กรุ งศรี อยุ ธยามาจนถึ งยุ คกรุ งรั ตนโกสิ นทร ตอนต นอยู มาก จึ งได อาศั ยชาวกะเหรี่ ยงที่ นี่ นำผลิ ตภั ณฑ จากป าออกมาส งลงเรื อสำเภา ไปขายเมื องจี น และส งสิ นค างาช างเข ามายั งราชสำนั กไทยด วย จึ งอาจกล าวได ว า ในเวลานั้ น ‘กะเหรี่ ยงคื อผู ผลิ ตหรื อควบคุ ม สิ นค าของป าเกื อบทั้ งหมด’

‘อั้ งหมี่ ถ อง’ เป นคำที่ ชาวกะเหรี่ ยงในจั งหวั ดราชบุ รี ใช เรี ยก ชื่ องานประเพณี ที่ จั ดสื บทอดกั นมาตั้ งแต ครั้ งบรรพบุ รุ ษ คื อ งาน ประเพณี กิ นข าวห อ หรื อ พิ ธี เรี ยกขวั ญของชุ มชนชาวกะเหรี่ ยง ในเขตจั งหวั ดราชบุ รี เพชรบุ รี และประจวบคี รี ขั นธ ที่ จั ดขึ้ นเป น ประจำทุ กป ในเดื อนเก าทางจั นทรคติ นั บเป นงานประเพณี ของ จั งหวั ดราชบุ รี ที่ มี ชื่ อเสี ยงเป นที่ รู จั กกั นดี งานหนึ่ ง คำว า ‘กะเหรี่ ยง’ มี ความหมายในภาษากะเหรี่ ยง ซึ่ งจั ด อยู ในตระกู ลจี น-ทิ เบต ว า ‘โพล ว’ แปลเป นไทยว า ‘คน’ หรื อ ‘มนุ ษยชาติ ’ ถ าจั ดแบ งชาวกะเหรี่ ยงออกตามภาษาที่ พู ด จะได เป น ๔ กลุ ม คื อ กะเหรี่ ยงโปว หรื อ โพล ว หรื อ ‘โพล ง’ กะเหรี่ ยง สะกอ กะเหรี่ ยงบเว ที่ เรี ยกตั วเองว า ‘คยา’ หรื อ ‘ยางแดง’ และ กะเหรี่ ยงพะโอ หรื อ ‘ตองสู ’ เนื่ องจากกลุ มชาวกะเหรี่ ยงสะกอ และกะเหรี่ ยงโปวที่ ตั้ งถิ่ นฐานอยู ในจั งหวั ดทางภาคกลาง โดยเฉพาะ จั งหวั ดราชบุ รี และเพชรบุ รี มี จำนวนมากที่ สุ ด จึ งทำให ภาษาของ กะเหรี่ ยงทั้ งสองกลุ ม เป นภาษาที่ ใช กั นมาก แต ไม ได หมายความ ว าชาวกะเหรี่ ยงทุ กคนจะต องรู และเข าใจทั้ งสองภาษา เพราะการ ออกเสี ยงและคำที่ ใช ยั งมี ความแตกต างกั นอยู มาก คนไทยเรี ยก ชาวกะเหรี่ ยงโปวว า ‘กะเหรี่ ยง’ เรี ยกชาวกะเหรี่ ยงสะกอว า ‘กะหร าง’ และเรี ยกชาวกะเหรี่ ยงที่ อาศั ยอยู ในพื้ นที่ ราบลุ มระหว าง หุ บเขาในจั งหวั ดราชบุ รี ว า ‘ยางน้ ำ’ กลุ มยางน้ ำนี้ เอง เป น กลุ มชาวกะเหรี่ ยงที่ ยั งคงสื บทอดและอนุ รั กษ เอกลั กษณ ของ วิ ถี ชี วิ ต ภาษา การแต งกาย ศิ ลปะการแสดง ดนตรี และ พิ ธี กรรมตามประเพณี ต างๆ ไว ได เป นอย างดี ที่ เห็ นได ชั ด คื อ ยั งคงมี คนที่ พู ดแต ภาษากะเหรี่ ยง ไม พู ดภาษาไทยมากถึ ง ประมาณร อยละ ๘๐ รู จั กชาวกะเหรี่ ยง

Angmeethong: Karen’s Tradition

to Raise Morale Angmeethong is a Karen word for the ceremony of cooking and wrapping rice in the ninth month of the lunar calendar, which aims at raising the morale of Karens in Ratchaburi province. The ceremony was relayed by their ancestors.

Powered by