ตื่ นตาตื่ นใจ ของโลก โดยความ ยิ่ งใหญ ของงาน World Expo ในอดี ตนั้ นพิ สู จน ได ถึ ง สิ่ งที่ นำมาจั ดแสดง หรื อสิ่ งที่ สร างขึ้ นเนื่ องในโอกาส การจั ดงาน World Expo เช น หอไอเฟล พระราชวั งคริ สตั ล สะพานโกลเด นท เกต รถไฟหั วจั กรไอน้ ำ บั ลลู น เรื อกลไฟ รถไฟฟ าความเร็ วสู ง รถยนต เรื อดำน้ ำ ยานอวกาศ หลอดไฟฟ า ฟ ล มขาวดำ ฟ ล มสี โทรเลข โทรศั พท โทรศั พท ไร สาย เป นต น ต อมาในช วงปลายศตวรรษที่ ๒๐ เข าสู ศตวรรษที่ ๒๑ จนถึ งป จจุ บั น แนวคิ ดหลั กของการ จั ดงาน World Expo ก็ หั นมาให ความสนใจเกี่ ยวกั บสภาพ แวดล อมและความเป นอยู ของมวลมนุ ษยชาติ มากยิ่ งขึ้ น ประเทศไทยเข าร วมงาน World Expo ครั้ งแรกใน ป พ.ศ.๒๔๐๕ ตั้ งแต สมั ยพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล า เจ าอยู หั ว รั ชกาลที่ ๔ ครั้ งที่ เรายั งเรี ยกตั วเองว า “สยาม” และหลั งจากนั้ นสยามและประเทศไทยก็ ได เข าร วมงาน World Expo เรื่ อยมา และในการจั ดงานครั้ งล าสุ ดนี้ ได จั ดขึ้ นที่ เมื องมิ ลาน สาธารณรั ฐอิ ตาลี ระหว างวั นที่ ๑ พฤษภาคม ถึ ง ๓๑ ตุ ลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ โดยกำหนด แนวคิ ดหลั กของการจั ดงานว า “Feeding the Planet, Energy for Life : อาหารหล อเลี้ ยงโลก พลั งงานหล อเลี้ ยง ชี วิ ต” ซึ่ งสอดคล องกั บที่ องค การอาหารและเกษตรหรื อ FAO คาดการณ เอาไว ว าในอี ก ๓๕ ป ข างหน า จะมี ประชากรบนโลกเพิ่ มขึ้ นอี ก ๒,๐๐๐ ล านคน จากเดิ ม ที่ มี อยู ราว ๗,๐๐๐ ล านคน จึ งอาจจะเกิ ดภาวการณ ขาดแคลนอาหารขึ้ นได ในอนาคต ประเทศไทย ในฐานะเมื องแห งเกษตรกรรม ซึ่ งมี ความได เปรี ยบทางภู มิ ศาสตร กว าประเทศใดๆ ในโลก กล าวคื อ พื้ นที่ บนโลกมี เพี ยงแค ร อยละ ๑๐ เท านั้ น ที่ สามารถทำการเพาะปลู กได ผลผลิ ตที่ ดี ซึ่ งประเทศไทย นั้ นมี ความมั่ งคั่ งของทรั พยากรธรรมชาติ ที่ มี ความหลาก หลายทางชี วภาพ และมี ความอุ ดมสมบู รณ ทางวิ ถี การ เกษตร จนทำให ไทยได ชื่ อว าเป นแหล งผลิ ตอาหารที่ มี
ÇÔ ¹Ô ¨ ÃÑ §¼Öé § àÃ×è ͧáÅÐÀÒ¾
งานมหกรรมโลก (The World Exposition) หรื อ ที่ เรี ยกสั้ นๆ ว างาน World Expo ซึ่ งเป นงานที่ ยิ่ งใหญ อั นดั บ ๓ ของโลก รองจากงานมหกรรมกี ฬาโอลิ มป ก และงานแข งขั นฟุ ตบอลโลก จั ดกั นต อเนื่ องยาวนาน กว า ๑๕๐ ป แล ว โดยหมุ นเวี ยนกั นจั ดในประเทศต างๆ ทั่ วทุ กภู มิ ภาคของโลก โดยองค กรที่ ดู แลการจั ดงานคื อ สำนั กงานมหกรรมโลก (Bureau of International Exposition : BIE) ซึ่ งเป นองค กรที่ จั ดตั้ งภายใต อนุ สั ญญา Paris Convention ขององค การสั นนิ บาตชาติ เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๗๑ ป จจุ บั นมี สมาชิ กถึ ง ๑๖๘ ประเทศ โดย ประเทศไทยเข าเป นสมาชิ กเมื่ อป พ.ศ.๒๕๓๖ งาน World Expo จั ดขึ้ นครั้ งแรกในยุ คของการ ปฏิ วั ติ อุ ตสาหกรรม เมื่ อป พ.ศ.๒๓๙๔ ที่ กรุ งลอนดอน ประเทศอั งกฤษ โดยประเทศอั งกฤษในเวลานั้ นมี ความ เจริ ญก าวหน าในด านอุ ตสาหกรรมเป นอย างยิ่ ง มี การ ประดิ ษฐ เครื่ องจั กรไอน้ ำในระบบอุ ตสาหกรรมและมี การขยายอุ ตสาหกรรมออกไปอย างกว างขวาง ในยุ ค แรกๆ สถานที่ จั ดงานก็ สลั บกั นไปมาระหว างประเทศ อั งกฤษกั บฝรั่ งเศส ต อมาเมื่ อโด งดั งเป นที่ รู จั กของ นานาชาติ และได รั บความนิ ยมในการเข าร วมงานมาก ขึ้ น ก็ ได มี การขยายการจั ดงานจากยุ โรปออกไปถึ งทวี ป อเมริ กาและประเทศอื่ นๆ หลั งยุ คแห งการปฏิ วั ติ อุ ตสาหกรรมก็ เริ่ มเข าสู ยุ ค แห งการประดิ ษฐ คิ ดค นสิ่ งต างๆ ทั้ งทางวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี งาน World Expo จึ งได กลายเป น การจั ดแสดงนวั ตกรรมสิ่ งประดิ ษฐ คิ ดค นใหม ๆ ที่ น า
Powered by FlippingBook