Quarter 3/2015

ตื่ นตาตื่ นใจ ของโลก โดยความ ยิ่ งใหญ ของงาน World Expo ในอดี ตนั้ นพิ สู จน ได ถึ ง สิ่ งที่ นำมาจั ดแสดง หรื อสิ่ งที่ สร างขึ้ นเนื่ องในโอกาส การจั ดงาน World Expo เช น หอไอเฟล พระราชวั งคริ สตั ล สะพานโกลเด นท เกต รถไฟหั วจั กรไอน้ ำ บั ลลู น เรื อกลไฟ รถไฟฟ าความเร็ วสู ง รถยนต เรื อดำน้ ำ ยานอวกาศ หลอดไฟฟ า ฟ ล มขาวดำ ฟ ล มสี โทรเลข โทรศั พท โทรศั พท ไร สาย เป นต น ต อมาในช วงปลายศตวรรษที่ ๒๐ เข าสู ศตวรรษที่ ๒๑ จนถึ งป จจุ บั น แนวคิ ดหลั กของการ จั ดงาน World Expo ก็ หั นมาให ความสนใจเกี่ ยวกั บสภาพ แวดล อมและความเป นอยู ของมวลมนุ ษยชาติ มากยิ่ งขึ้ น ประเทศไทยเข าร วมงาน World Expo ครั้ งแรกใน ป พ.ศ.๒๔๐๕ ตั้ งแต สมั ยพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล า เจ าอยู หั ว รั ชกาลที่ ๔ ครั้ งที่ เรายั งเรี ยกตั วเองว า “สยาม” และหลั งจากนั้ นสยามและประเทศไทยก็ ได เข าร วมงาน World Expo เรื่ อยมา และในการจั ดงานครั้ งล าสุ ดนี้ ได จั ดขึ้ นที่ เมื องมิ ลาน สาธารณรั ฐอิ ตาลี ระหว างวั นที่ ๑ พฤษภาคม ถึ ง ๓๑ ตุ ลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ โดยกำหนด แนวคิ ดหลั กของการจั ดงานว า “Feeding the Planet, Energy for Life : อาหารหล อเลี้ ยงโลก พลั งงานหล อเลี้ ยง ชี วิ ต” ซึ่ งสอดคล องกั บที่ องค การอาหารและเกษตรหรื อ FAO คาดการณ เอาไว ว าในอี ก ๓๕ ป ข างหน า จะมี ประชากรบนโลกเพิ่ มขึ้ นอี ก ๒,๐๐๐ ล านคน จากเดิ ม ที่ มี อยู ราว ๗,๐๐๐ ล านคน จึ งอาจจะเกิ ดภาวการณ ขาดแคลนอาหารขึ้ นได ในอนาคต ประเทศไทย ในฐานะเมื องแห งเกษตรกรรม ซึ่ งมี ความได เปรี ยบทางภู มิ ศาสตร กว าประเทศใดๆ ในโลก กล าวคื อ พื้ นที่ บนโลกมี เพี ยงแค ร อยละ ๑๐ เท านั้ น ที่ สามารถทำการเพาะปลู กได ผลผลิ ตที่ ดี ซึ่ งประเทศไทย นั้ นมี ความมั่ งคั่ งของทรั พยากรธรรมชาติ ที่ มี ความหลาก หลายทางชี วภาพ และมี ความอุ ดมสมบู รณ ทางวิ ถี การ เกษตร จนทำให ไทยได ชื่ อว าเป นแหล งผลิ ตอาหารที่ มี

ÇÔ ¹Ô ¨ ÃÑ §¼Öé § àÃ×è ͧáÅÐÀÒ¾

งานมหกรรมโลก (The World Exposition) หรื อ ที่ เรี ยกสั้ นๆ ว างาน World Expo ซึ่ งเป นงานที่ ยิ่ งใหญ อั นดั บ ๓ ของโลก รองจากงานมหกรรมกี ฬาโอลิ มป ก และงานแข งขั นฟุ ตบอลโลก จั ดกั นต อเนื่ องยาวนาน กว า ๑๕๐ ป แล ว โดยหมุ นเวี ยนกั นจั ดในประเทศต างๆ ทั่ วทุ กภู มิ ภาคของโลก โดยองค กรที่ ดู แลการจั ดงานคื อ สำนั กงานมหกรรมโลก (Bureau of International Exposition : BIE) ซึ่ งเป นองค กรที่ จั ดตั้ งภายใต อนุ สั ญญา Paris Convention ขององค การสั นนิ บาตชาติ เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๗๑ ป จจุ บั นมี สมาชิ กถึ ง ๑๖๘ ประเทศ โดย ประเทศไทยเข าเป นสมาชิ กเมื่ อป พ.ศ.๒๕๓๖ งาน World Expo จั ดขึ้ นครั้ งแรกในยุ คของการ ปฏิ วั ติ อุ ตสาหกรรม เมื่ อป พ.ศ.๒๓๙๔ ที่ กรุ งลอนดอน ประเทศอั งกฤษ โดยประเทศอั งกฤษในเวลานั้ นมี ความ เจริ ญก าวหน าในด านอุ ตสาหกรรมเป นอย างยิ่ ง มี การ ประดิ ษฐ เครื่ องจั กรไอน้ ำในระบบอุ ตสาหกรรมและมี การขยายอุ ตสาหกรรมออกไปอย างกว างขวาง ในยุ ค แรกๆ สถานที่ จั ดงานก็ สลั บกั นไปมาระหว างประเทศ อั งกฤษกั บฝรั่ งเศส ต อมาเมื่ อโด งดั งเป นที่ รู จั กของ นานาชาติ และได รั บความนิ ยมในการเข าร วมงานมาก ขึ้ น ก็ ได มี การขยายการจั ดงานจากยุ โรปออกไปถึ งทวี ป อเมริ กาและประเทศอื่ นๆ หลั งยุ คแห งการปฏิ วั ติ อุ ตสาหกรรมก็ เริ่ มเข าสู ยุ ค แห งการประดิ ษฐ คิ ดค นสิ่ งต างๆ ทั้ งทางวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี งาน World Expo จึ งได กลายเป น การจั ดแสดงนวั ตกรรมสิ่ งประดิ ษฐ คิ ดค นใหม ๆ ที่ น า

Powered by