A History of the Thai-Chinese หนั งสื อเล มนี้ เป นผลงานการเขี ยนร วมกั นของ คุ ณเจฟฟรี ซึ ง (Jefeery Sng) และ คุ ณพิ มพ ประไพ พิ ศาลบุ ตร คู สามี ภรรยา ผู เป นศิ ษย เก าจากมหา- วิ ทยาลั ยคอร แนล รั ฐนิ วยอร ค ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ทั้ งสองใช เวลาในการทำงานใหญ ชิ้ นนี้ นานกว าสองป ครึ่ ง โดยทุ มเทเวลาให เป นงานเต็ มเวลา โดยมี ‘ทุ นเดิ ม’ คื อ ความคุ นเคยต อเรื่ องราวของตระกู ลจี นต างๆ และได สะสมข อมู ลชั้ นเยี่ ยมได อย างมาก เป นต นว า หนั งสื อ สาแหรกตระกู ล หรื อหนั งสื องานศพของผู ที่ สื บเชื้ อสาย มาจากบรรพชนชาวจี น ตลอดจน ‘โครงกระดู กในตู ’ ของคุ ณพิ มพ ประไพเอง ทั้ งทางฝ ายบิ ดาและฝ ายมารดา ผู มาจากตระกู ลหวั่ งหลี แต ที่ เป น ‘ทุ นใหม ’ ที่ ผู เขี ยน ทั้ งสองต องศึ กษาค นคว าอย างหนั กนั้ น ได แก หนั งสื อ น อยใหญ ทั้ งในภาษาอั งกฤษและภาษาไทย รวมแล ว มากกว า ๒๐๐ เล ม ผู เขี ยนทั้ งสองได กล าวไว ในคำนำว า ได มุ งเน น ศึ กษาถึ งประวั ติ ศาสตร ของคนจี นที่ เข ามาอยู ใน อาณาจั กรสยามหรื อไทยในแต ละยุ คสมั ย ซึ่ งมี ลั กษณะ เฉพาะของการเดิ นทาง บทบาทที่ มี ต อสั งคมสยาม แตกต างกั น นั บแต ยุ คอยุ ธยามาจนถึ งป จจุ บั น โดยส วนใหญ แล ว บรรพชนของชาวจี นที่ มาอยู ใน เมื องไทยนั้ น มาจากคนชั้ นชาวนา พ อค า นั กผจญภั ย และผู ใช แรงงาน มี ผู รู หนั งสื อมี ความรู อยู น อยมาก ประเพณี การบั นทึ กสาแหรกตระกู ลแบบจี นจึ งแทบ จะหาไม ได ในหมู ลู กหลานจี นที่ มาเกิ ดในเมื องไทย และทุ กวั นนี้ คนไทยที่ มี เชื้ อสายจี นจำนวนไม น อย ที่ ไม ทราบ ทั้ งไม สนใจจะสื บทราบ ถึ งต นแหล งแห งที่ ของตำบลบ านเกิ ดของบรรพชนตนแต อย างใด เนื้ อหาของหนั งสื อแบ งออกเป น ๘ บทใหญ ได แก บทที่ ๑. Ayudhyan Chinese ค.ศ. ๑๓๕๑-๑๗๖๗ (ชาวจี นยุ คกรุ งศรี อยุ ธยา พ.ศ. ๑๘๙๔-๒๓๑๐) บทที่ ๒. The King of Thonburi ค.ศ. ๑๗๖๗-๑๗๘๒ (พระเจ ากรุ งธนบุ รี พ.ศ. ๒๓๑๐-๒๓๒๕) บทที่ ๓. All the King’s Men ค.ศ. ๑๗๘๒-๑๘๕๕ (ข าราชบริ พาร ใกล ชิ ด พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๘) บทที่ ๔. The Age of Emigrants ค.ศ. ๑๘๕๕-๑๙๐๐ (ยุ คที่ ชาวจี นไหลบ า สู สยาม พ.ศ. ๒๓๙๘-๒๔๔๓) บทที่ ๕. Metamorphosis ค.ศ. ๑๘๕๕-๑๙๒๕ (แปลงรู ปกลายร าง พ.ศ. ๒๓๙๘- ๒๔๖๘) บทที่ ๖. Divided Loyalties ค.ศ. ๑๙๐๐-๑๙๔๕ (แบ งฝ ายเลื อกข าง พ.ศ. ๒๔๔๓-๒๔๘๘) บทที่ ๗. In and Out of the Bamboo Curtain ค.ศ. ๑๙๔๕-๑๙๗๕
(เข าๆ ออกๆ ผื นม านไม ไผ พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๕๑๘) บทที่ ๘. New Beginning ค.ศ. ๑๙๗๕ ถึ งป จจุ บั น (บทใหม แห งความสั มพั นธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ถึ งป จจุ บั น) จากชื่ อบทที่ เอ ยมานี้ จะเห็ นได ว า ผู เขี ยนทั้ งสอง เลื อกการบอกเล าประวั ติ ศาสตร ตามกาลเวลา ชาวจี น ได เข ามาอาศั ยอยู ในอาณาจั กรสยาม ตั้ งแต สมั ยอยุ ธยา รวมทั้ งก อนหน าอยุ ธยา คื อ ในยุ คสุ โขทั ย ด วยเหตุ ผล เบื้ องแรกเพื่ อการค าขาย ขณะที่ ราชสำนั กสยามก็ ส ง เครื่ องบรรณาการไปกำนั ลจั กรพรรดิ จี น เช นเดี ยวกั บ อาณาจั กรอื่ นๆ ในดิ นแดนอุ ษาคเนย ที่ ต องการให ราชสำนั กจี นยอมรั บตนเอง เพื่ อจะได ทำการค าขายกั บ แผ นดิ นอั นยิ่ งใหญ เช นจี น ซึ่ งมี สิ นค ามี ค าต างๆ เช น เครื่ องถ วยกระเบื้ อง ใบชา และผ าไหม ตลอดจน เครื่ องมื อเครื่ องใช ที่ ทำจากโลหะเหล็ ก หรื อทองแดง ส วนสิ นค าที่ สยามจะส งไปยั งราชสำนั กจี นนั้ น ก็ ประกอบ ด วย แร ดี บุ ก ผลิ ตผลต างๆ จากป า และเครื่ องเทศ เป นต น สำหรั บอาณาจั กรในอุ ษาคเนย แล ว การส ง เครื่ องบรรณาการไปยั งกรุ งจี นนั้ น เป นการเป ดทางให สามารถติ ดต อทำการค าขายกั บจี นได แต ในสายตาของ จั กรพรรดิ จี น มองว าการส งเครื่ องบรรณาการจากรั ฐเล็ ก รั ฐน อยในอุ ษาคเนย นั้ น เป นการแสดงความยอมรั บ นั บถื อความยิ่ งใหญ ของแผ นดิ นจี น เนื้ อหาในบทแรกนี้ ให ภาพพั ฒนาการในแง มุ ม ต างๆ ของการติ ดต อค าขายระหว างพ อค าจี นทั้ งที่ เป น เอกชน และที่ เป นของหลวง กั บอาณาจั กรสยาม มาจน ถึ งการเกิ ดมี ชุ มชนคนจี นขึ้ นภายในกำแพงเมื องอยุ ธยา ที่ เรี ยกว า ‘ตลาดนายไก ’ ความสั มพั นธ ของพ อค าจี น กั บราชสำนั ก การให อำนาจปกครองภายในชุ มชนแก หั วหน าชาวจี นที่ ราชสำนั กสยามเป นผู แต งตั้ ง และความ เปลี่ ยนแปลงในราชสำนั กสยาม ที่ ส งผลให คนจี นได รั บ ความไว วางใจ แต งตั้ งเป นพระยาพระคลั งตั้ งแต สมั ย พระเพทราชาเป นต นมา ในบทต อมา หนั งสื อเล มนี้ ได ให ความสำคั ญแก บทบาทของพระเจ ากรุ งธนบุ รี หรื อพระยาตากสิ น เป นอย างมาก ด วยเหตุ ที่ พระองค สื บเชื้ อสายมาจากจี น ไหฮอง ผู ได ภรรยาเป นคนไทย ซึ่ งเป นเรื่ องปกติ ของ ยุ คสมั ยนั้ น ที่ มี แต ผู ชายชาวจี นเดิ นทางข ามน้ ำข าม ทะเลมากั บเรื อสำเภาที่ มี ภั ยอั นตรายสู ง กว าจะมี ผู หญิ ง จี นเดิ นทางข ามน้ ำข ามทะเลได ก็ ต อเมื่ อเกิ ดมี เรื อกลไฟ เดิ นสมุ ทรขนาดใหญ ที่ ให ความปลอดภั ยในการเดิ นทาง มากขึ้ นในปลายศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่ งเป นยุ คกลางของ รั ตนโกสิ นทร
Powered by FlippingBook