ขวา : ตำราแพทย ยุ คต างๆ ของศิ ริ ราช ล าง : ภายในพิ พิ ธภั ณฑ นิ ติ เวช
ตำราเรี ยนในยุ คแรกของการเรี ยนการสอน นั กศึ กษา แพทย จะจดบั นทึ กตามคำบรรยายของอาจารย ต อมาท านได พยายามแต งตำราแพทย และอั ดสำเนาแจก และในป พ.ศ. ๒๔๕๕ ท านได แต งตำราชื่ อ “Practice of Medicine” ซึ่ งจั ด พิ มพ ขึ้ นจำนวนไม มากนั ก สำหรั บให นั กเรี ยนผลั ดกั นอ าน ป จจุ บั นตำราเล มนี้ อยู ในความดู แลของพิ พิ ธภั ณฑ การแพทย ศิ ริ ราช และท านยั งได เขี ยนตำราเพิ่ มเติ มอี ก ๖ เล ม นอกจากนี้ ยั งมี ตำราแพทย ของ ศ.นพ. เอ. จี เอลลิ ส (Prof. Dr. A.G Ellis) ท านเป นแพทย ทางพยาธิ วิ ทยา เข ามาประเทศไทยเมื่ อป พ.ศ. ๒๔๖๒-๒๔๖๔ และได จั ดการเรี ยนการสอนวิ ชาพยาธิ วิ ทยาด วย ต อมารั ฐบาลไทยได ร วมมื อกั บมู ลนิ ธิ ร็ อคกี้ เฟลเลอร ปรั บปรุ งการศึ กษาแพทย ของไทย จึ งได เชิ ญท านมาอี กครั้ งหนึ่ ง เพื่ อมารั บตำแหน งหั วหน าแผนกพยาธิ วิ ทยาและวิ ชาธิ การ (Director of Study) จั ดหลั กสู ตรแพทยศาสตร บั ณฑิ ต และ จั ดการเรี ยนการสอนใหม นอกจากนี้ ท านยั งได เขี ยนตำราทาง การแพทย พยาธิ วิ ทยาเป นภาษาอั งกฤษ ชื่ อ Element of Pathology เป นตำราสำคั ญเล มหนึ่ ง ในเนื้ อหามี การอ างอิ ง ตั วอย างของคนไข หลายรายในศิ ริ ราช ตำราแพทย ในช วงสงครามโลกครั้ งที่ ๒ เป นช วงที่ ตำราแพทย ภาษาอั งกฤษขาดแคลน ศ.นพ. สุ ด แสงวิ เชี ยร เขี ยนตำรากายวิ ภาคภาษาไทยขึ้ นชุ ดหนึ่ ง มี ๘ ตอน ชื่ อ “คู มื อกายวิ ภาคสาตรช วยในการชำแหละสพ” (สะกดตาม ชื่ อหนั งสื อของท าน เป นภาษาไทยสมั ยจอมพล ป. พิ บู ลสงคราม) การเขี ยนตำราชุ ดนี้ เป นไปอย างยากลำบาก ท านต องเร งรี บ เขี ยนหลั งจากเสร็ จการสอนหนั งสื อในเวลากลางวั น ต องพรางไฟ แต งตำราในเวลากลางคื น พอไฟดั บก็ ใช แสงตะเกี ยง เมื่ อได ยิ น เสี ยงระเบิ ดก็ ต องหลบลงท องร องสวน
ตำราแพทย ในยุ คแรก ตำราแพทย ที่ ใช กั นนั้ น เป นของพระอาจวิ ทยาคม นพ. ยอร ช บี . แมคฟาร แลนด (Dr. George B. McFarland) ผู รั บราชการที่ ศิ ริ ราชเมื่ อ พ.ศ. ๒๔๓๕ ในตำแหน งครู ใหญ ฝ ายการแพทย แผนป จจุ บั น และหั วหน าแพทย แผนป จจุ บั น ของโรงเรี ยนแพทยาลั ย ท านมี ความรู ด านภาษาไทยเป นอย าง ดี เพราะเป นลู กมิ ชชั นนารี ชาวอเมริ กั นที่ เกิ ดในสยาม ท านได เขี ยนบทความเรื่ อง อุ ปสรรคการสอนนั กเรี ยนแพทย ในสมั ย โรงเรี ยนแพทยาลั ย มี ความตอนหนึ่ งว า “ ...ความขั ดข องอั นยิ่ งใหญ ในการสอนนั กเรี ยน ในสมั ย เริ่ มต นโรงเรี ยนนั้ น ก็ คื อ ตำราเกี่ ยวกั บการแพทย เพราะตำรา ที่ เป นภาษาไทยไม มี เลยสั กเล มเดี ยว และผู ศึ กษาในสมั ยนั้ นมี พื้ นความรู ต่ ำมาก ไม สามารถอ านตำราภาษาต างประเทศ ได เลย”
Powered by FlippingBook