quarter 4/2015

โบราณวั ตถุ ที่ ติ ดประดั บ อยู ที่ อนุ สาวรี ย หลวงพ อชุ ม

อ างอิ ง

๑. กรมศิ ลปากร, พระปฐมเจดี ย กรมศิ ลปากร ตรวจสอบชำระใหม และการบู รณปฏิ สั งขรณ พระปฐมเจดี ย (โดยเสด็ จพระราชกุ ศล ในงานพระราชทานเพลิ งศพ พระธรรมสิ ริ ชั ย (ชิ ต ชิ ตวิ บู ลเถร) วั นที่ ๒๓ มี นาคม ๒๕๒๘), กรุ งเทพ : บริ ษั ท ยู นิ ตี้ โพรเกรส, ๒๕๒๘ (พิ มพ ครั้ งที่ ๒) ๒. วั ดพระประโทณเจดี ย , ประวั ติ วั ดพระประโทณ เจดี ย วรวิ หาร องค พระประโทณเจดี ย จุ ลประโทณเจดี ย (ที่ ระลึ กเนื่ องในงานพิ ธี พุ ทธาภิ เษก พระพุ ทธธี รธรรม), กาญจนบุ รี : สหายการพิ มพ , ๒๕๔๑ ๓. สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี , รายงานเบื้ องต นการขุ ดศึ กษาทางโบราณคดี และ บู รณะโบราณสถานวั ดพระประโทณเจดี ย จั งหวั ดนครปฐม, เอกสารพิ มพ คอมพิ วเตอร , ๒๕๕๐ ๔. ศ.ดร. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม, “รู ปแบบสั นนิ ษฐานจาก ซากเจดี ย สมั ยทวารวดี ที่ นครปฐม” ปกิ ณกศิ ลปวั ฒนธรรม เล ม ๑๕ จั งหวั ดนครปฐม, กรุ งเทพ : ห างหุ นส วนจำกั ด ไซออนมี เดี ย, ๒๕๕๒, หน า ๖๓-๘๔ ๕. วสั นต เทพสุ ริ ยานนท , “พระประโทณเจดี ย : จากการขุ ดศึ กษาทางโบราณคดี “ปกิ ณกศิ ลปวั ฒนธรรม เล ม ๑๕ จั งหวั ดนครปฐม, กรุ งเทพ : ห างหุ นส วนจำกั ด ไซออนมี เดี ย, ๒๕๕๒, หน า ๔๗-๖๒ ๖. สำนั กงานจั งหวั ดนครปฐม , ประวั ติ มหาดไทย ส วนภู มิ ภาค จั งหวั ดนครปฐม, กรุ งเทพ : โรงพิ มพ อั กษรสมั ย, ๒๕๒๘ ๗. Piriya Krairiksh, “The Phra pathon chedi” สิ่ งละอั นพั นละน อย ๖๐ ป วารุ ณี โอสถารมย , กรุ งเทพ : โรงพิ มพ ภาพพิ มพ , ๒๕๕๗, หน า ๒๓๑-๒๘๒

ท ายบท ภายในวั ดพระประโทณเจดี ย วรวิ หาร นอกจาก จะมี พระมหาเจติ ยใหญ เป นประธานของพระอาราม ยั งมี สิ่ งก อสร างอี กหลายอย างที่ ควรค าแก การสั กการะ เพื่ อความเป นมงคลแห งชี วิ ต ตั วอย างเช น พระวิ หาร และพระอุ โบสถที่ ตั้ งคู กั นอยู ทางด านหน าขององค เจดี ย โดยเฉพาะใบเสมาหิ นทรายแดงที่ ตั้ งอยู โดยรอบของ พระอุ โบสถนั้ น มี การสลั กลวดลายอย างสวยงาม เป นงานศิ ลปกรรมสมั ยอยุ ธยาที่ มี คุ ณค ายิ่ ง นอกจากนี้ บริ เวณมุ มด านทิ ศใต ของวิ หารใกล รอยพระพุ ทธบาท จำลอง มี ศาลาที่ ตั้ งรู ปป นยายหอม ที่ มี ประวั ติ เชิ ง ตำนานเกี่ ยวข องกั บพระประโทณเจดี ย รู ปยายหอมนี้ มั กมี ผู มานิ ยมบนบานศาลกล าวกั นเป นประจำ เมื่ อได ผลสำเร็ จตามความปรารถนาก็ จะนำตุ กตารู ปเป ดมา ถวาย จนวางเรี ยงกั นเป นแถวยาวทั้ งด านหน าศาลา และแนวกำแพงแก ว โดยชาวบ านเชื่ อกั นว ายายหอมนั้ น แต เดิ มเคยเลี้ ยงเป ดมาก อน และด วยความสำคั ญขององค ประประโทณเจดี ย ดั งที่ กล าวมาแล ว ทางกรมศิ ลปากรจึ งได ประกาศ ขึ้ นทะเบี ยนพระประโทณเจดี ย เป นโบราณสถานสำคั ญ ของชาติ มาตั้ งแต เมื่ อวั นที่ ๘ มี นาคม พ.ศ. ๒๔๗๘

อรุ ณศั กดิ์ กิ่ งมณี จบการศึ กษาปริ ญญาตรี และโท จากคณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร

สนใจเป นพิ เศษเกี่ ยวกั บเรื่ องเทพฮิ นดู รวมถึ งประติ มานวิ ทยาของพุ ทธ และฮิ นดู ป จจุ บั นรั บราชการตำแหน งนั กโบราณคดี ชำนาญการพิ เศษ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี

Powered by