กองกำลั ง ๑๓๖ รวมพลที่ กรุ งเทพฯ ป ๒๔๘๘
“ข าพเจ ายั งมี ความรู สึ กจำได อยู ข อหนึ่ งคื อ เมื่ อส องกล องดู ฝ งไทยจากเรื อใต น้ ำนั้ น ข าพเจ าจำได ว าได เห็ นแผ นดิ นอั นเป นที่ รั กของเราสวยงามมาก หาดทรายขาวและมี กระท อมหาปลาอยู มี ต นไม เป น อั นมาก ตำบลที่ เราตั้ งใจจะขึ้ นบกนั้ นรู สึ กว าเปลี่ ยว อยู มาก ข าพเจ าไม เคยไปตำบลนั้ นเลย แต ยั งรู สึ กว า ที่ นั่ นเป นแผ นดิ นที่ รั กของเรา และมี คนร วมชาติ ที่ รั ก ของเราอาศั ยอยู ” ภารกิ จต อมา ป วยได รั บมอบหมายให ลั กลอบ เข าเมื องโดยการกระโดดร มพร อมเครื่ องรั บส งวิ ทยุ โดยมี หน าที่ คื อ รั กษาตั วให รอด, ดั กฟ งทางวิ ทยุ กั บ กองทั พรั บคนที่ จะมาโดดร มในภายหลั ง และติ ดต อ กั บฝ ายต อต านในประเทศ ในเดื อนมี นาคม ๒๔๘๗ เสรี ไทยทั้ งสามคน กระโดดร มลงที่ ทุ งนาใกล หมู บ านแห งหนึ่ งใน จ.ชั ยนาท ผิ ดจากเป าหมายที่ ต องไปลงในป า ทั้ งสามถู กเจ าหน าที่ ไทยจั บกุ ม โดยตั้ งข อหาว าทรยศชาติ และทำจารกรรม ก อนจะถู กนำตั วเข ากรุ งเทพฯ และได รั บความช วยเหลื อ จากเสรี ไทยที่ เป นตำรวจและได เข าพบนายปรี ดี พนมยงค จากนั้ นทำให เสรี ไทยเริ่ มส งวิ ทยุ ติ ดต อกองทั พอั งกฤษ ในอิ นเดี ยได ทหารจากอั งกฤษและสหรั ฐจึ งปฏิ บั ติ งาน ในไทยได สะดวกขึ้ น เมื่ อสงครามยุ ติ ป วยมี ตำแหน งพั นตรี ในกองทั พ อั งกฤษได ถู กส งตั วไปร วมกั บคณะผู แทนไทยเพื่ อเจรจา การทหารและการเมื องกั บอั งกฤษที่ เมื องแคนดี ศรี ลั งกา ๒ ครั้ ง ต อมามหาวิ ทยาลั ยลอนดอนที่ ให ทุ นศึ กษา ปริ ญญาเอกแก เขาได ติ ดต อไปยั งกองทั พอั งกฤษให
ปลดป วยจากราชการทหารเร็ วเป นพิ เศษเพื่ อศึ กษาต อ ป วยเดิ นทางกลั บอั งกฤษโดยผ านเมื องกั ลกั ตตา แต ได รั บคำสั่ งสุ ดท ายในฐานะเสรี ไทยว า ให ไปร วมกั บ นายทหารเสรี ไทยจากสหรั ฐที่ กั ลกั ตตาเพื่ อถวายอารั กขา แด สมเด็ จพระเจ าอยู หั วอานั นทมหิ ดลและพระอนุ ชา ซึ่ งเสด็ จประทั บแรมอยู ณ ที่ นั้ น จากประเทศสวิ ตเซอร - แลนด จะเสด็ จกลั บประเทศไทย “ผมได ปฏิ บั ติ หน าที่ ด วยความยิ นดี ก อนที่ จะถอด เครื่ องแบบพั นตรี กลั บคื นเป นนั กเรี ยนในมหาวิ ทยาลั ย ลอนดอนอี กสามป ” ป วยกล าวถึ งเหตุ การณ ครั้ งนั้ น นั่ นเป นภารกิ จสุ ดท ายในฐานะทหาร ก อนที่ จะ กลั บไปศึ กษาปริ ญญาเอกที่ มหาวิ ทยาลั ยลอนดอน เขาใช เวลาทำวิ ทยานิ พนธ อยู ๓ ป ก อนจะกลั บเมื อง ไทยในป ๒๔๙๒ เพื่ อมาเป นข าราชการด านเศรษฐกิ จ และการคลั งที่ สำคั ญหลายตำแหน ง จนถื อตำแหน ง สุ ดท ายทางราชการคื ออธิ การบดี มหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร การปรากฏตั วอี กครั้ งของ ‘นายเข ม เย็ นยิ่ ง’ ป วยเลื อกที่ จะหวนกลั บมาใช ชื่ อจั ดตั้ ง นายเข ม เย็ นยิ่ ง อี กครั้ ง เมื่ อ จอมพลถนอม กิ ตติ ขจร ทำการ รั ฐประหารตั วเองในเดื อนมิ ถุ นายน ๒๕๑๔ ขณะนั้ นเขาลาออกจากตำแหน งผู ว าการธนาคาร แห งประเทศไทย มารั บตำแหน งคณบดี คณะเศรษฐ- ศาสตร มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร และอยู ระหว างลาไป เป นอาจารย พิ เศษและทำวิ จั ยที่ มหาวิ ทยาลั ยเคมบริ ดจ สหราชอาณาจั กร
Powered by FlippingBook