Quarter 2/2016

กองกำลั ง ๑๓๖ รวมพลที่ กรุ งเทพฯ ป ๒๔๘๘

“ข าพเจ ายั งมี ความรู สึ กจำได อยู ข อหนึ่ งคื อ เมื่ อส องกล องดู ฝ งไทยจากเรื อใต น้ ำนั้ น ข าพเจ าจำได ว าได เห็ นแผ นดิ นอั นเป นที่ รั กของเราสวยงามมาก หาดทรายขาวและมี กระท อมหาปลาอยู มี ต นไม เป น อั นมาก ตำบลที่ เราตั้ งใจจะขึ้ นบกนั้ นรู สึ กว าเปลี่ ยว อยู มาก ข าพเจ าไม เคยไปตำบลนั้ นเลย แต ยั งรู สึ กว า ที่ นั่ นเป นแผ นดิ นที่ รั กของเรา และมี คนร วมชาติ ที่ รั ก ของเราอาศั ยอยู ” ภารกิ จต อมา ป วยได รั บมอบหมายให ลั กลอบ เข าเมื องโดยการกระโดดร มพร อมเครื่ องรั บส งวิ ทยุ โดยมี หน าที่ คื อ รั กษาตั วให รอด, ดั กฟ งทางวิ ทยุ กั บ กองทั พรั บคนที่ จะมาโดดร มในภายหลั ง และติ ดต อ กั บฝ ายต อต านในประเทศ ในเดื อนมี นาคม ๒๔๘๗ เสรี ไทยทั้ งสามคน กระโดดร มลงที่ ทุ งนาใกล หมู บ านแห งหนึ่ งใน จ.ชั ยนาท ผิ ดจากเป าหมายที่ ต องไปลงในป า ทั้ งสามถู กเจ าหน าที่ ไทยจั บกุ ม โดยตั้ งข อหาว าทรยศชาติ และทำจารกรรม ก อนจะถู กนำตั วเข ากรุ งเทพฯ และได รั บความช วยเหลื อ จากเสรี ไทยที่ เป นตำรวจและได เข าพบนายปรี ดี พนมยงค จากนั้ นทำให เสรี ไทยเริ่ มส งวิ ทยุ ติ ดต อกองทั พอั งกฤษ ในอิ นเดี ยได ทหารจากอั งกฤษและสหรั ฐจึ งปฏิ บั ติ งาน ในไทยได สะดวกขึ้ น เมื่ อสงครามยุ ติ ป วยมี ตำแหน งพั นตรี ในกองทั พ อั งกฤษได ถู กส งตั วไปร วมกั บคณะผู แทนไทยเพื่ อเจรจา การทหารและการเมื องกั บอั งกฤษที่ เมื องแคนดี ศรี ลั งกา ๒ ครั้ ง ต อมามหาวิ ทยาลั ยลอนดอนที่ ให ทุ นศึ กษา ปริ ญญาเอกแก เขาได ติ ดต อไปยั งกองทั พอั งกฤษให

ปลดป วยจากราชการทหารเร็ วเป นพิ เศษเพื่ อศึ กษาต อ ป วยเดิ นทางกลั บอั งกฤษโดยผ านเมื องกั ลกั ตตา แต ได รั บคำสั่ งสุ ดท ายในฐานะเสรี ไทยว า ให ไปร วมกั บ นายทหารเสรี ไทยจากสหรั ฐที่ กั ลกั ตตาเพื่ อถวายอารั กขา แด สมเด็ จพระเจ าอยู หั วอานั นทมหิ ดลและพระอนุ ชา ซึ่ งเสด็ จประทั บแรมอยู ณ ที่ นั้ น จากประเทศสวิ ตเซอร - แลนด จะเสด็ จกลั บประเทศไทย “ผมได ปฏิ บั ติ หน าที่ ด วยความยิ นดี ก อนที่ จะถอด เครื่ องแบบพั นตรี กลั บคื นเป นนั กเรี ยนในมหาวิ ทยาลั ย ลอนดอนอี กสามป ” ป วยกล าวถึ งเหตุ การณ ครั้ งนั้ น นั่ นเป นภารกิ จสุ ดท ายในฐานะทหาร ก อนที่ จะ กลั บไปศึ กษาปริ ญญาเอกที่ มหาวิ ทยาลั ยลอนดอน เขาใช เวลาทำวิ ทยานิ พนธ อยู ๓ ป ก อนจะกลั บเมื อง ไทยในป ๒๔๙๒ เพื่ อมาเป นข าราชการด านเศรษฐกิ จ และการคลั งที่ สำคั ญหลายตำแหน ง จนถื อตำแหน ง สุ ดท ายทางราชการคื ออธิ การบดี มหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร การปรากฏตั วอี กครั้ งของ ‘นายเข ม เย็ นยิ่ ง’ ป วยเลื อกที่ จะหวนกลั บมาใช ชื่ อจั ดตั้ ง นายเข ม เย็ นยิ่ ง อี กครั้ ง เมื่ อ จอมพลถนอม กิ ตติ ขจร ทำการ รั ฐประหารตั วเองในเดื อนมิ ถุ นายน ๒๕๑๔ ขณะนั้ นเขาลาออกจากตำแหน งผู ว าการธนาคาร แห งประเทศไทย มารั บตำแหน งคณบดี คณะเศรษฐ- ศาสตร มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร และอยู ระหว างลาไป เป นอาจารย พิ เศษและทำวิ จั ยที่ มหาวิ ทยาลั ยเคมบริ ดจ สหราชอาณาจั กร

Powered by