จากข อเขี ยนของคุ ณพ อ (อาจารย สรรพสิ ริ วิ รยศิ ริ ) ที่ พิ มพ ไว ในหนั งสื อชุ ดความรู ไทย ขององค การค าคุ รุ สภา เรื่ อง “เรารั กรถไฟ” หน า ๑๒-๓๗ มี ข อความว า “คนใน เมื องไทยซึ่ งสมั ยนั้ นเรี ยกว าประเทศสยามได เห็ น “รถไฟ” เป นครั้ งแรกในรั ชสมั ยของพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล า เจ าอยู หั ว รั ชกาลที่ ๔ ที่ ฝรั่ งเรี ยกว า “คิ งมงกุ ฎ” สมเด็ จพระราชิ นี นาถวิ กตอเรี ยแห งประเทศอั งกฤษ ได ส งราชทู ตชื่ อ “มิ สเตอร ฮาริ ป ก” (Mr. Harry Smith Parkes) นำเครื่ องราชบรรณาการมาถวาย “คิ งมงกุ ฎ” ณ พระที่ นั่ งดุ สิ ตมหาปราสาท เมื่ อวั นที่ ๓๐ มี นาคม พุ ทธศั กราช ๒๓๙๘ ในเครื่ องราชบรรณาการนั้ นมี ขบวนรถไฟจำลอง ที่ ใช จั กรแล นได อย างของจริ งลากจู งโดยรถจั กรไอน้ ำชื่ อ “วิ กตอเรี ย” รวมอยู ด วย พร อมกั บข อเสนอขอสั มปทาน ตั ดเส นทางรถไฟโดยที่ สยามไม ต องเสี ยค าใช จ าย จำนวน ๒ เส นทางคื อ เส นทางจากบางกอกถึ งภาคเหนื อจรด ชายแดนประเทศพม า และเส นทางตั ดคอคอดกระ โดยมุ งหวั งใช เป นเส นทางขนส งสิ นค าทางทะเลโดย ไม ต องอ อมแหลมทอง พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล าเจ าอยู หั วทรงปฏิ เสธ ข อเสนอนี้ โดยทรงให เหตุ ผลว า “เวลานั้ นสยามมี เกวี ยน ใช อยู แล ว ยั งไม ถึ งเวลาที่ จะนำรถไฟเข ามาใช ” ซึ่ งหาก พิ จารณาโดยรอบคอบแล วจะพบว าเหตุ ผลดั งกล าว แสดงให เห็ นถึ งสายพระเนตรอั นกว างไกลอย างยิ่ งของ พระองค ท าน เพราะหากทรงยอมให อั งกฤษสร างทาง รถไฟ สยามคงจะต องเสี ยเอกราชไปดุ จเดี ยวกั บประเทศ เพื่ อนบ านในย านนี้ ที่ ตกเป นเมื องขึ้ นของประเทศนั กล า อาณานิ คมตะวั นตกไปอย างหมดสิ้ น เพี ยงเพราะเห็ นแก เทคโนโลยี ความเจริ ญใหม ๆ ที่ ต างชาติ หยิ บยื่ นให โดย ไม ไตร ตรองอย างถี่ ถ วนเสี ยก อน รถไฟขบวนแรกที่ คนไทย ในสยามเคยเห็ น บั ดนี้ เก็ บรั กษาไว ที่ พิ พิ ธภั ณฑสถาน แห งชาติ กรุ งเทพมหานคร
บน : รถจั กรไอน้ ำจำลอง “วิ กตอเรี ย” ครั้ งตั้ งแสดงในหอเกี ยรติ ภู มิ รถไฟ ล าง : รถจั กรไอน้ ำจำลอง “วิ กตอเรี ย” ป จจุ บั นเก็ บรั กษาในพิ พิ ธภั ณฑสถานแห งชาติ กรุ งเทพมหานคร
Powered by FlippingBook