King Chulalongkorn’s portrait by famous painter The first Thai king who has been to Europe, King Chulalongkorn visited the continent twice in 1897 and 1907. During his second trip to Europe, King Chulalongkorn commissioned famous French painter Carolus-Duran to paint His Majesty’s portrait.
“มองสิ เออคาโรลั ส-ดุ รั ง” เข าเฝ าทู ลละอองธุ ลี พระบาท ณ พระตำหนั กที่ ประทั บ เพื่ อทรงแนะนำให รู จั กพระองค โดยมี พระราชประสงค ที่ จะให เขี ยนพระบรมสาทิ สลั กษณ ของพระองค เพื่ อประดิ ษฐานไว ในพระที่ นั่ งวิ มานเมฆ พระราชวั งดุ สิ ต เมื่ อ มองสิ เออคาโรลั ส-ดุ รั ง ได พิ จารณา สำรวจสถานที่ ภายในพระตำหนั กสำหรั บใช เป นสตู ดิ โอ ในการเขี ยนพระบรมรู ปถวาย ปรากฏว าแสงสว างไม เพี ยงพอในการเขี ยนภาพ บรรยากาศไม เอื้ ออำนวย ที่ จะปฏิ บั ติ งานถวาย จึ งได จั ดหาสถานที่ ใหม ที่ อื่ นซึ่ ง อยู ใกล พระตำหนั กเพื่ อจะได เสด็ จเดิ นทางไปมาสะดวก ดั งปรากฏในพระราชหั ตถเลขาฉบั บที่ ๑๒ คื นที่ ๓๙ ลงวั นที่ ๔ พฤษภาคม รั ตนโกสิ นทรศก ๑๒๖ ณ เมื องซั นเรโมที่ ทรงมี ไปถึ งสมเด็ จพระเจ าลู กเธอ เจ าฟ านิ ภานภดล วิ มลประภาวดี หรื อ “หญิ งน อย” ความตอนหนึ่ งว า “วั นนี้ มองสิ เออคาโรลั สดุ รั ง ช างเขี ยนฝรั่ งเศส ที่ จะเขี ยนรู ปพ อมาถึ ง มาตรวจดู ที่ ที่ ในวิ ลลานี้ แต เช า เห็ นใช ไม ได หมด ว าแสงสว างไม เหมาะจึ งได ไปหาสตู ดิ โอ แห งหนึ่ งของช างเขี ยนที่ นี่ ขอให ไปเขี ยนที่ นั่ น พ อก็ ยอม ตกลง แต จะลงมื อวั นนี้ ก็ ยั งไม ได เฉพาะแสงแดดพอดี ที่ จะเขี ยน เวลาบ าย ๒ โมงครึ่ ง วั นนี้ เปนอั นมาเฝ ากั น เสี ยที ตานี่ เปนพระเจ าช างเขี ยนถึ งได ตราที่ ๑ ฝรั่ งเศส อายุ แก มากแล ว ผมขาว ต องการดู ตั วพ อแลดู เครื่ อง แต งตั ว ขอให ออกไปยื นที่ เฉลี ยงที่ สว างมาก แรกทั ก ออกมาว ารู ปหั วพ อดี เห็ นจะเขี ยนเอางามได คราวนี้ เอาคฑามาให ลองกำดู มื อ มองอยู สั กครู หนึ่ งบอกว า มื อก็ งามใช ได ดู สองแห งเท านั้ นแล วพอสำหรั บในวั นนี้ ไปคลำเครื่ องแต งตั วเรื่ อยไปอี กประมาณสั กครึ่ งชั่ วโมง แล วเลิ ก...”
พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล าเจ าอยู หั ว ทรง เป นพระมหากษั ตริ ย ไทยพระองค แรก ที่ เสด็ จประพาส ไกลถึ งทวี ปยุ โรป ในตลอดรั ชสมั ยของพระองค ได เสด็ จ ประพาสยุ โรปถึ งสองครั้ ง ครั้ งแรกในป พ.ศ.๒๔๔๐ มี พระราชประสงค เพื่ อทรงกระชั บสั มพั นธไมตรี กั บมิ ตร ประเทศมหาอำนาจในยุ โรป ดั งเช น ประเทศรั สเซี ย และ เยอรมนี ซึ่ งเป นที่ เกรงขามของฝรั่ งเศสและอั งกฤษใน เวลานั้ น นอกจากนี้ เพื่ อทรงสร างความเข าใจอั นดี และขจั ดความขุ นข องหมองใจในกรณี พิ พาทระหว าง ไทยกั บฝรั่ งเศสในดิ นแดนฝ งซ ายของแม น้ ำโขงเมื่ อ รั ตนโกสิ นทรศก ๑๑๒ หรื อ พ.ศ.๒๔๓๖ และการเสด็ จ ประพาสยุ โรปครั้ งหลั ง ในป พ.ศ.๒๔๕๐ มี พระราช ประสงค เสด็ จพระราชดำเนิ นไปรั กษาพระองค เนื่ องจาก ประชวรพระโรคพระวั กกะพิ การ ตามคำกราบบั งคมทู ล ของคณะแพทย ในระหว างนั้ นได เสด็ จฯ เยื อนประเทศ ต างๆ ในยุ โรปด วย เพื่ อทรงเจรจาความเมื องระหว าง ประเทศ และในครั้ งนั้ นพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล า เจ าอยู หั ว ได เสด็ จประพาสประเทศอิ ตาลี โดยประทั บ ที่ พระตำหนั กวิ ลลาโนเบล เมื องซั นเรโม ทรงพระกรุ ณา โปรดเกล าฯ ให จิ ตรกรเอกชื่ อดั งชาวฝรั่ งเศสผู มี นามว า
Powered by FlippingBook