Quarter 3/2016

ภาพแรก จากจู โน

ดาวพฤหั สบดี ดาวพฤหั สบดี เป นดาวเคราะห ดวงที่ ๕ และเป น ดวงที่ ใหญ ที่ สุ ดในระบบสุ ริ ยะจั กรวาลของเรา มนุ ษย เรา รู จั กดาวพฤหั สบดี มานานนั บพั นป แล ว นั บแต สมั ย สุ เมเรี ยน (Sumerian) และบาบิ โลเนี ยน (Babylonians) เทพปกรณั มของกรี ก-โรมั น ได ตั้ งชื่ อดาวดวงนี้ ว า Jupiter เป นชื่ อของเทพเจ าผู เป นใหญ ยิ่ งพระองค หนึ่ ง กาลิ เลโอ กาลิ เลอี นั กดาราศาสตร คนสำคั ญใน ยุ คกลางของยุ โรป ได ใช กล องโทรทรรศน ส องมองดาว ดวงนี้ และสั งเกตเห็ นดาวจั นทร ใหญ ของดาวพฤหั สบดี ๔ ดวง ซึ่ งต อมา ดาวจั นทร ใหญ สี่ ดวงนี้ เป นที่ รู จั กกั น ในนามของ Galilean Moons มี ชื่ อว า Europa, IO, Ganymede และ Callisto ในเวลาต อมา ได มี การค นพบ ดาวจั นทร บริ วารดาวพฤหั สบดี อี กเป นจำนวนมากถึ ง ๖๗ ดวง นั กดาราศาสตร ในรุ นต อมา ส องกล องมองเห็ น ‘จุ ดแดงใหญ ’ บนดาวพฤหั สบดี และลงความเห็ นกั นว า จุ ดแดงใหญ นี้ คื อ พายุ หมุ นของแก ส ซึ่ งหมุ นวนอยู ตลอดกาลนาน จึ งเชื่ อกั นว า ดาวพฤหั สบดี นั้ น เป นดาว ที่ ประกอบด วยแก ส ที่ มี ลั กษณะปรากฏเหมื อนของเหลว ที่ เลื่ อนไหลอยู ตลอดเวลา และมี สนามแม เหล็ กพลั งสู ง มาก และคลื่ นอื่ นๆ อี กมากมาย ที่ ส งกระแสออกมา ตลอดเวลา ภาระหน าที่ หลั กข อหนึ่ งของยานสำรวจจู โน ที่ กำลั งเข าวงโคจรของดาวพฤหั สบดี อยู ณ เวลานี้ ก็ คื อ การหาคำตอบให ได ว า ดาวพฤหั สบดี มี แกนที่ เป นของแข็ ง อยู บ างไหม และประกอบด วยธาตุ อะไรบ าง ‘จู โน’ เทพี ผู มุ งค นหาความจริ งของเทพ จู ป เตอร นั กวิ ทยาการอวกาศผู วางแผนสร างยานสำรวจจู โน ช างมี จิ นตนาการที่ หยั่ งลึ กถึ งรากแห งสรรพวิ ชาความรู พวกเขาให ชื่ อยานสำรวจตั วนี้ ว า จู โน ซึ่ งตามเทพปกรณั ม นั้ น จู โน คื อเทพี ผู เป นคู ครองของเทพจู ป เตอร ผู มี ความ สามารถในการล วงความลั บของสามี ผู เจ าชู เป นอย างยิ่ ง เทพจู ป เตอร นั้ น ได บั นดาลหมอกควั นหนาขึ้ นบดบั ง พฤติ กรรมความเจ าชู ของตนเอง แต เทพี จู โนก็ สามารถ จั บผิ ดเทพจู ป เตอร ได เสมอทุ กครั้ งไป การให ชื่ อยาน สำรวจครั้ งนี้ ว า จู โน จึ งสะท อนความมุ งมาดปรารถนา ของคณะทำงานที่ จะค นหา ความลั บ ที่ ดาวพฤหั สบดี เก็ บซ อนไว นั่ นเอง

ความพยายามขององค การนาซ าในการสำรวจ ดาวพฤหั สบดี นั้ น เริ่ มต นมาหลายสิ บป แล ว นั บแต การ ส งยาน Pioneer 10 ไปบิ นโฉบ (flyby) ดาวพฤหั สบดี เมื่ อป ค.ศ. ๑๙๗๒ ทั้ งยั งเคยส งยานอวกาศชื่ อ Galileo ไปสำรวจอย างใกล ชิ ด โดยได เข าสู วงโคจรของดาว พฤหั สบดี เป นครั้ งแรก ระหว างป ค.ศ. ๑๙๙๕-๒๐๐๓ และได บิ นโฉบดวงจั นทร ในกลุ มกาลิ เลี ยนทั้ ง ๔ ดวง และดาวจั นทร นอกกลุ มนี้ อี กดวงหนึ่ งด วย ทั้ งยั งได ส ง ยานขนาดเล็ กเข าไปในชั้ นบรรยากาศของดาวพฤหั สบดี

Powered by