Quarter 3/2016

จู โน จึ งเป นผลลั พธ ของการจั ดหายานสำรวจ ดาวพฤหั สบดี ตั วใหม แทนที่ ยานกาลิ เลโอ ที่ มี การใช เทคโนโลยี ใหม ล าสุ ด เริ่ มด วยการใช พลั งงานแสงอาทิ ตย เป นพลั งงานในการทำงานของทุ กระบบภายในยาน ก อนหน านี้ การสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอวกาศใน ภาคส วนที่ เรี ยกว า outer space คื อ นั บแต ดาวโลก ออกไปด านท ายของสุ ริ ยะจั กรวาล จะใช พลั งงานจาก ความร อนที่ ได จากการสลายตั วของสารกั มมั นตภาพรั งสี (Radioisotopic Thermo Generator – RTG) แต ความ ผิ ดพลาดของการส งยานอวกาศบางครั้ ง ก อให เกิ ด ความตระหนกในหมู ชาวโลก เมื่ อยานที่ ใช สารกั มมั นต- ภาพรั งสี สร างพลั งงานป อนยานนั้ นทำงานผิ ดพลาด และต องตกกลั บมายั งพื้ นผิ วโลก องค การนาซ าจึ ง พยายามพั ฒนาเทคโนโลยี พลั งงานแสงอาทิ ตย ยาน สำรวจจู โน นั บเป นยานพลั งงานแสงอาทิ ตย ที่ ออกไป สำรวจอวกาศภาคนอกที่ ไกลที่ สุ ดเท าที่ มนุ ษยชาติ สามารถทำได ในขณะนี้ แผงรั บพลั งงานแสงอาทิ ตย (Solar Arrays) ของ ยานจู โน นั้ นมี ขนาดใหญ มหึ มารวม ๓ แผง แต ละแผง มี พื้ นที่ รั บแสงอาทิ ตย ๖๐ ตารางเมตร หากตั้ งอยู ที่ โลก แผงโซล าเซลล ทั้ งสามแผงนี้ สามารถผลิ ตไฟฟ าได ถึ ง ๑๔,๐๐๐ วั ตต แต เมื่ อไปอยู ไกลถึ งดาวพฤหั สบดี ที่ ห างจากโลกไป ๒,๘๐๐ ล านกิ โลเมตร จะผลิ ตไฟฟ า ได เพี ยง ๔๘๖ วั ตต เท านั้ น ดั งนั้ น ชุ ดอุ ปกรณ ต างๆ ที่ ยานจู โนนำไปใช งาน จึ งต องเป นชุ ดอุ ปกรณ ประหยั ด ไฟและมี ประสิ ทธิ ภาพสู งทั้ งสิ้ น ขณะเดี ยวกั น วงโคจร ของยานจู โนรอบดาวพฤหั สบดี ก็ กำหนดไว ที่ เพี ยงขั้ ว หั วท ายของดาวพฤหั สบดี เท านั้ น ดั งนั้ น ยานจู โนจะ ได รั บแสงอาทิ ตย ตลอดเวลา ไม มี จั งหวะใดที่ ยานนี้ จะ โคจรเข าสู เงามื ดของดาวพฤหั สบดี ไฟฟ าที่ ผลิ ตขึ้ นจาก แผงโซล าร ของยาน จะถู กเก็ บไว ที่ แบตเตอรี่ ที่ ทำจาก แร ลิ เที ยม ภารกิ จหลั กของยานสำรวจจู โน คื อ การเก็ บข อมู ล ต างๆ เท าที่ สามารถจะเก็ บมาได จากดาวพฤหั สบดี เป นต นว า ภาพวี ดี โอที่ เก็ บภาพตลอดเวลา สำรวจการ มี อยู ของน้ ำและแอมโมเนี ยในชั้ นบรรยากาศของดาว ตรวจสอบรั ศมี จากธาตุ ไฮโดรเจนอิ ออน ตรวจนั บแก ส มี เทน และฟอสไฟน วั ดความเข มของสนามแม เหล็ ก ที่ มี เข็ มทิ ศนำทาง เก็ บข อมู ลเกี่ ยวกั บมวลและแรงโน มถ วง ของดาว ตรวจวั ดพลั งงานของอนุ ภาคที่ มี ประจุ ตรวจวั ด คลื่ นวิ ทยุ ฯลฯ ข อมู ลทั้ งหมดที่ จู โนส งมา จะได รั บการ

แผงโซล าเซลล บนป กหนึ่ ง ของจู โน

ได ลึ ก ๑๕๐ กิ โลเมตร แต ยานลู กลำนี้ มี โอกาสส งข อมู ล อยู ได เพี ยง ๑ ชั่ วโมง แล วก็ ต องย อยยั บลงด วยแรงกดดั น อั นมหาศาล บวกกั บอุ ณหภู มิ ที่ แปรผั นอย างแรงร าย ในชั้ นบรรยากาศของดาวพฤหั สบดี ตั วยานแม กาลิ เลโอ เอง ก็ ถึ งจุ ดจบในแบบเดี ยวกั น คื อ ดำดิ่ งเข าสู ดาวพฤหั ส- บดี และถู กฉี กทำลายไป

Powered by