วั นวิ สาขบู ชา เป นวั นเพ็ ญเดื อน ๖ เป นวั นพระสำคั ญพิ เศษ อั นดั บสองของป เป นวั นทำบุ ญพิ เศษทางพระพุ ทธศาสนาเพื่ อระลึ ก ถึ งเหตุ การณ สำคั ญที่ เกิ ดขึ้ นอั นเกี่ ยวข องกั บพระพุ ทธเจ าที่ พุ ทธ- ศาสนิ กชนควรจดจำไว เป นพิ เศษ ดั งนี้ ๑) เป นวั นประสู ติ ของ พระพุ ทธเจ า ณ ป าลุ มพิ นี วั น ซึ่ งเป นดิ นแดนที่ อยู ระหว างกรุ ง กบิ ลพั สดุ กั บกรุ งเทวทหนครติ ดต อกั น ๒) เป นวั นตรั สรู ของพระ- พุ ทธเจ าในอี ก ๓๕ ป ต อมา ณ ตำบลอุ รุ เวลาเสนานิ คม แขวงเมื อง พาราณสี ๓) เป นวั นเสด็ จดั บขั นธปริ นิ พพานของพระพุ ทธเจ าเมื่ อ เวลาผ านไปอี ก ๔๕ ป ที่ สาลวโนทยานใต ต นรั งคู แขวงเมื องกุ สิ นารา นั บเป นเหตุ การณ พิ เศษที่ เกิ ดขึ้ นกั บพระพุ ทธเจ าในวั นเพ็ ญ วิ สาขะดิ ถี เดี ยวกั น จึ งถื อว าวั นวิ สาขบู ชาเป นวั นพระสำคั ญพิ เศษ ในพระพุ ทธศาสนาที่ บรรดาพุ ทธศาสนิ กชนต างเข าวั ดบู ชาพระ พุ ทธเจ าเป นพิ เศษและเดิ นเที ยนเพื่ อรำลึ กถึ งพระป ญญาธิ คุ ณ พระ บริ สุ ทธิ คุ ณ และพระกรุ ณาธิ คุ ณแห งพระพุ ทธองค วั นอาสาฬหบู ชา เป นวั นเพ็ ญเดื อน ๘ เป นวั นพระสำคั ญ พิ เศษอั นดั บสุ ดท ายของป เป นวั นทำบุ ญพิ เศษทางพระพุ ทธศาสนา เพื่ อระลึ กถึ งเหตุ การณ สำคั ญที่ บั งเกิ ดขึ้ นอั นเกี่ ยวข องกั บพระพุ ทธ- เจ าที่ พุ ทธศาสนิ กชนควรจดจำไว เป นพิ เศษเช นกั น ดั งนี้ ๑) เป นวั น ที่ พระพุ ทธเจ าทรงแสดงปฐมเทศนาธั มมจั กกั ปปวั ตตนสู ตร ซึ่ งเป น หลั กสั จธรรมที่ ทรงค นพบใหม ประทานแก คณะป ญจวั คคี ย ณ ป าอิ สิ ปตนมฤคทายวั น เมื องพาราณสี มี ผู เข าใจเพี ยงผู เดี ยวคื อ อั ญญาโกณฑั ญญะก็ พอพระทั ยมากแล ว ถื อเป นพยานการทรง ตรั สรู อั นแสดงว าหลั กสั จธรรมที่ ทรงค นพบใหม ถู กต องใช ได และถื อ ว าได ทรงทดสอบแล ว ๒) เป นวั นที่ พระพุ ทธเจ าทรงได ปฐมสาวก เนื่ องจากอั ญญาโกณฑั ญญะเกิ ดความเลื่ อมใสในพระธรรมคำทรง สอนของพระพุ ทธเจ า ได ทู ลขออุ ปสมบทด วยวิ ธี เอหิ ภิ กขุ อุ ปสั มปทา จึ งได ชื่ อว าเป นพระสงฆ รู ปแรกของโลก ๓) เป นวั นที่ มี พระรั ตนตรั ย ครบองค สามบริ บู รณ เป นครั้ งแรกในโลก บางที จึ งมี ผู เรี ยกวั นนี้ ว า “วั นพระธรรม” หรื อ “วั นพระธรรมจั กร” ซึ่ งหมายถึ งวั นที่ ล อแห ง พระธรรมของพระพุ ทธเจ าหมุ นเป นครั้ งแรก และ “วั นพระสงฆ ” อั นหมายถึ งวั นที่ พระสงฆ อุ บั ติ ขึ้ นครั้ งแรกในโลก แต เดิ มมาวั นอาสาฬหบู ชาไม มี พิ ธี บู ชาพิ เศษ อาจเนื่ องมาจาก เป นวั นใกล กั บวั นเข าพรรษาซึ่ งพุ ทธศาสนิ กชนทำบุ ญกุ ศลกั นเป น ประจำอยู แล ว จนกระทั่ ง พ.ศ. ๒๕๐๐ คณะสั งฆมนตรี ซึ่ งทำหน าที่ ปกครองคณะสงฆ ไทยอยู ในเวลานั้ นปรารถนาที่ จะเห็ นวั นอาสาฬห- บู ชามี ความสำคั ญเป นพิ เศษทางพระพุ ทธศาสนาอยู เป นอั นมาก จึ งออกเป นประกาศสำนั กสั งฆนายกเมื่ อวั นที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ กำหนดให วั นอาสาฬหบู ชาเป นวั นสำคั ญทางพระพุ ทธ- ศาสนาพร อมทั้ งกำหนดพิ ธี อาสาฬหบู ชาขึ้ นอย างเป นทางการเป น ครั้ งแรกในประเทศไทย โดยมี พิ ธี ปฏิ บั ติ เที ยบเท ากั บวั นวิ สาขบู ชา อั นเป นวั นสำคั ญทางพระพุ ทธศาสนาสากล
อ างอิ ง
เกษม บุ ญศรี . ประเพณี ทำบุ ญเนื่ องในพระพุ ทธศาสนา. พิ มพ ครั้ งที่ ๕. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิ มพ คุ รุ สภาลาดพร าว, ๒๕๓๑. พจนานุ กรมฉบั บราชบั ณฑิ ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุ งเทพฯ: นานมี บุ กส พั บลิ เคชั่ นส , ๒๕๔๖. พระไตรป ฎกฉบั บสำหรั บประชาชน. พิ มพ ครั้ งที่ ๑๐. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิ มพ มหามกุ ฎราชวิ ทยาลั ย, ๒๕๓๐. พระเทพสุ วรรณโมลี . เจ าอาวาสวั ดป าเลไลยก วรวิ หารและ เจ าคณะจั งหวั ดสุ พรรณบุ รี . สั มภาษณ , ๙ ตุ ลาคม ๒๕๕๕. อาจ อารั ทธกานนท . “พระพุ ทธศาสนากั บลายสื อไทย,” ๗๐๐ ป แห งลายสื อไทย. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิ มพ กรุ งสยามการพิ มพ , ๒๕๒๖.
แต วั นอาสาฬหบู ชาถื อเป นวั นสำคั ญแห งวั นเพ็ ญอาสาฬห ที่ กำหนดให เป นวั นหยุ ดราชการเฉพาะในประเทศไทยเท านั้ น ส วนใน ต างประเทศอื่ นๆ ที่ นั บถื อพระพุ ทธศาสนานิ กายเถรวาท ยั งไม ได ให ความสำคั ญกั บวั นอาสาฬหบู ชาเที ยบเท ากั บวั นวิ สาขบู ชาสากล
Powered by FlippingBook