มั สยิ ดยะวา การเดิ นทางเข าสู ประเทศไทยของชาวยะวา หรื อ ชวา จากเกาะชวา (ป จจุ บั นเป นส วนหนึ่ งของประเทศ อิ นโดนี เซี ย) เริ่ มต นในสมั ยรั ชกาลที่ ๔ มี ชาวชวา เดิ นทางเข ามาค าขายและตั้ งถิ่ นฐานในประเทศไทย ในตรอกโรงน้ ำแข็ งเก า ต.คอกกระบื อ อ.ยานนาวา บริ เวณคลองสาทรฝ งใต (ป จจุ บั นคื อ แขวงยานนาวา เขตสาทร) ต อมา ในสมั ยรั ชกาลที่ ๕ พระองค เสด็ จ ประพาสชวาถึ ง ๓ ครั้ ง โดยการเสด็ จประพาสชวา ครั้ งที่ ๓ พระองค ทรงนำ นายเอเลนบาส ชาวฮอลั นดา ผู เชี่ ยวชาญด านการเพาะปลู ก และชาวชวาอี ก ๒ คน มาตกแต งสวนในพระบรมมหาราชวั ง วั งสวนดุ สิ ต วั งสราญรมย วั งสวนสุ นั นทา พระราชวั งสนามจั นทร พระราชวั งบางปะอิ น ตลอดจนสถานที่ ราชการสำคั ญ อั นมี การปลู กไม ประดั บตามแนวถนนราชดำเนิ นและ ปลู กต นมะขามบริ เวณท องสนามหลวง ด วยเหตุ นี้ ชาวชวาจึ งเดิ นทางเข ามาในเมื องไทยเพิ่ มขึ้ น ด วยใน ยุ คนั้ น ค าจ างแรงงานในชวา ซึ่ งตกเป นเมื องขึ้ นของ ฮอลั นดา หรื อ เนเธอร แลนด มี ค าแรงต่ ำกว าค าแรงใน เมื องไทย ๓ เท า ในระยะแรก ชาวชวาที่ มาอาศั ยอยู ใน แถบคลองสาทรใต ยั งไม มี สถานที่ ทำละหมาดร วมกั น ดั งนั้ น ในป พ.ศ. ๒๔๔๘ ฮั จยี มู ฮั มมั ดซอและส บิ นฮาซั น* พ อค าชาวชวาจึ งได บริ จาคที่ ดิ นจำนวน ๑๓๙ ตารางวา เพื่ อให ใช ในการก อสร างมั สยิ ด ด วยจิ ตศรั ทธาจาก แรงงานอาสาและทุ นทรั พย จากการบริ จาคของชาวชวา กั บมุ สลิ มเชื้ อสายมาเลย ในชุ มชนตำบลคอกกระบื อ แขวงขุ นบำรุ งบุ รี (นามของชุ มชนนี้ ในอดี ต)
Powered by FlippingBook