แจกั นหกเหลี่ ยม ลายเครื่ องมงคลภั ณฑ สั ตว จตุ บาท แมลง เป นลายนู นมาจากพื้ นผิ วของแจกั น นิ ยมในสมั ย ร.๔
๓. สี และกระบวนลาย การเข าใจในสี และกระบวน ลวดลายที่ เขี ยน โดยเฉพาะชิ้ นงานที่ ต องประกอบกั น เป น ๒-๓ ชิ้ น เช น ชิ้ นงานที่ มี ถาดรองเป น สองถาดบ าง สามถาดบ าง และถ าชิ้ นงานนั้ นเป นชิ้ นงานที่ ถู กฝาถู กตั ว แล ว เช น มี สี ครามจะต องเป นสี ผสมและเขี ยนในครั้ ง เดี ยวกั น ความอ อนแก ของครามนั้ นจะต องเสมอกั น กระบวนการเขี ยนลายของชิ้ นงานนั้ นจะต องเป นเรื่ อง เดี ยวกั น หรื อไปในทิ ศทางเดี ยวกั น แต ก็ มี บ างเหมื อนกั น ที่ ตั วภาชนะเขี ยนลายค างคาวและที่ ฝาเขี ยนลายเมฆ จึ งต องมาพิ จารณาสี ของคราม ฝ มื อของช างวาด การวางเข ากั นได อย างแนบสนิ ทพอดี ของภาชนะ การตั้ งโต ะจี นต องมี ของดี และของพิ เศษมาวาง ประกอบ การตั้ งเครื่ องโต ะในสมั ยแรกๆ ชิ้ นงานที่ นำมา ประกอบเครื่ องโต ะต องมี ชิ้ นงานที่ กรรมการตั ดสิ นแล ว ว าเป นชิ้ นงานที่ ดี และงดงาม กรรมการผู กผ าแดงให ถื อ ว ามี ๑ คะแนน ๑. เซี่ ยงฮ อ ดี ที่ สุ ด นั บว าเป นชิ้ นงานของที่ ดี ที่ สุ ด ชิ้ นงานที่ ดี ที่ สุ ดมี ครั้ งแรกในป รั ตนโกสิ นทรศก ๑๑๐ ชิ้ นที่ ได รั บการคั ดเลื อกเป นชิ้ นที่ ไม มี ของซ้ ำในประเภท เดี ยวกั น ลายเดี ยวกั น จั ดเป นชิ้ นที่ ดี เลิ ศที่ สุ ด เมื่ อได รั บ การคั ดเลื อกแล วเจ าพนั กงานราชเลขานุ การจดบั นทึ ก ลงทะเบี ยนและประทั บตราครั่ ง พระราชลั ญจกรสี ดำ กำกั บไว พร อมทั้ งโปรดเกล าพระราชทานแพรไหม เซี่ ยงฮ อ มี แบ งออกเป น ๗ ชั้ น ๑.๑ เซี่ ยงฮ อทอง ระดั บคะแนน ๑๐ คะแนน ๑.๒ เซี่ ยงฮ อเงิ น ระดั บคะแนน ๙ คะแนน ๑.๓ เซี่ ยงฮ อเหลื อง ระดั บคะแนน ๘ คะแนน ๑.๔ เซี่ ยงฮ อแดง ระดั บคะแนน ๖ คะแนน ๑.๕ เซี่ ยงฮ อชมพู ระดั บคะแนน ๕ คะแนน ๑.๖ เซี่ ยงฮ อเขี ยว ระดั บคะแนน ๔ คะแนน ๑.๗ เซี่ ยงฮ อม วง ระดั บคะแนน ๓ คะแนน ชิ้ นงานจะขาดความเป นเซี่ ยงฮ อเมื่ อชิ้ นงานนั้ น
๑.๓ ตราของขุ นนาง หรื อห างจากสยาม เป าจู ลี่ จี้ ของพระยาพิ ศาลศุ ภผลและสกุ ลพิ ศาลบุ ตร จิ นถางฝู จี้ ของพระยาโชฎึ กราชเศรษฐี (พุ ก) ต นตระกู ล โชติ กพุ กกณะ ๑.๔ ตราของเตาเผาของผู ผลิ ต มั กเป น รู ปลั กษณ ของสิ่ งมงคล เช น ของวิ เศษในโป ยเซี ยนทั้ งแปด มงคลแปดในศาสนาพุ ทธ ดอกไม หรื อใบไม มงคล ตราสั ญลั กษณ เหล านี้ มี มาตั้ งแต สมั ยราชวงศ ชิ ง ในกรณี ที่ ไม ปรากฏชื่ อยี่ ห อให สั งเกตจากเนื้ อกระเบื้ องและฝ มื อ การเขี ยน ๒. การพิ จารณาจากเนื้ อเครื่ องกระเบื้ องและ ผิ วเคลื อบเพื่ อแยกแยะแต ละยุ คสมั ย ของเก าของใหม เป นสิ่ งที่ ต องทำความเข าใจ จดจำข อแตกต างทางด าน รู ปทรงความหยาบละเอี ยด หนาบาง ตลอดจนน้ ำยา เคลื อบ การเขี ยนสี ใต เคลื อบหรื อบนเคลื อบ การฉาบผิ ว การเกิ ดรู พรุ นปลายเข็ มอั นเนื่ องมาจากฟองอากาศ ที่ ผุ ดออกมาจากเนื้ อ ความเรี ยบ หยาบ เมื่ อเอามื อสั มผั ส เหล านี้ เป นองค ประกอบ
ชำรุ ด หรื อปรากฏว าผู อื่ นมี เหมื อน
Powered by FlippingBook