รถม าพระที่ นั่ งขณะเสด็ จประพาส เมื องบาเดนบาเดน
“ผู ที่ ไปเที่ ยวอาบน้ ำแร เหล านี้ เขาก็ ย ายที่ อาบน้ ำโน นบ าง นี่ บ างตามโรค น้ ำเหล านี้ ถ ากิ นมั กจะเป นยาป ดเปนพื้ น พ อไม เห็ น ว าจะมี คุ ณอะไรในการอาบน้ ำอย างอื่ น แต คาบอนิ คแอซิ ดนี้ ดี แน ในเมื องไทยควรจะมี ” ในพระราชหั ตถเลขาฉบั บที่ ๑๙ คื นที่ ๖๕ ลงวั นที่ ๓๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๔๕๐) พระบาทสมเด็ จพระจุ ล- จอมเกล าเจ าอยู หั ว ขณะเสด็ จประพาสเมื องบาเดนบาเดน ประเทศเยอรมนี ได ทรงเล าเรื่ องการเสด็ จฯ ไปทรงอาบน้ ำแร ที่ ‘เฟรเดอริ กบาด’ ทรงบรรยายถึ งขั้ นตอนวิ ธี การนวดแบบสปาไว อย างละเอี ยดดั งนี้ “เช านี้ พ อตื่ นตั้ งแต โมงครึ่ ง กิ นน้ ำนมถ วยหนึ่ ง แล วถึ งเวลา ทำกิ จวั ตรในการรั กษาตามตำราของหมอคื อ ต องไปออกเดิ นกั บ หมอฟ สเตอร สองคน ชายอุ รุ พงษ วิ่ งไปตามไปอี กคนหนึ่ ง เข าใน สวนก อน กิ จวั ตรเบื้ องต นต องให ไปเดิ นเสี ยให เหนื่ อยก อน จึ งค อย ไปกิ นน้ ำแร แต ที่ จริ งพ อฟกเต็ มที ด วยขึ้ นเขามาสองวั นแล ว ออกจะ ขโยกเขยก เลยไปที่ ๆ กิ นน้ ำแร เฟรเดอริ ก คื อชื่ อแกรนด ดุ ก ส วน ห องที่ กิ นน้ ำเองเปนเรื อนกลมอยู ข างใน มี เสาอยู กลางโรงกลมนั้ น แล วติ ดก อกกั้ นรั้ วรอบเปนคอก ตั้ งถ วยต างๆ ผู หญิ งคอยตั ก จำหน าย การก อสร างที่ หรู หรามากนั้ นอยู ข างหน าคื อที่ จงกรม ขื่ อกว างประมาณเห็ นจะเกื อบสี่ วา ยาวกว า ๓๐ วา ผนั งด านใน เขี ยนเรื่ องน้ ำพุ น้ ำเดื อด เพราะเหตุ ว ารู จั กและใช กั นมาเสี ยแต ครั้ ง โรมั นประมาณสั กพั นป แล ว เปนการจำเป นที่ กิ นแล วจะต องเดิ น จงกรมอี กทอดหนึ่ งก อนเวลาไปอาบน้ ำแร คนในพื้ นเมื องมี หมื่ น ห าพั นเจ็ ดร อย แต คนในประเทศนอกประเทศที่ มาอาบน้ ำแร กิ นน้ ำ ประมาณหกหมื่ นคนทุ กป มี เจ านายและเจ าแผ นดิ นมาเสมอไม ขาด แต พ อไม ได เดิ นจงกรมเพี ยงนั้ น ตกลงเปนจะเดิ นไปที่ อาบน้ ำแร เฟรเดอริ กบาตซึ่ งตั้ งในอยู ในเมื องแทนจงกรม
สื บเนื่ องจากพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล าเจ าอยู หั ว ทรง พระประชวรพระโรคพระวั กกะพิ การหรื อ “ไตเรื้ อรั ง” มาตั้ งแต ป พ.ศ. ๒๔๔๘ เป นต นมา ด วยสาเหตุ ทรงตรากตรำพระวรกายมา ยาวนาน แพทย หลวงจึ งได ถวายคำแนะนำให พระองค หยุ ดทรงงาน ราชการชั่ วคราวเป นเวลา ๑ ป และให ทรงคลายความวิ ตกกั งวล พร อมทั้ งเสด็ จประพาสยุ โรปเพื่ อประทั บพระราชอิ ริ ยาบถและทรง สู ดอากาศบริ สุ ทธิ์ อั นจะเป นผลดี ต อพระสุ ขภาพ รวมถึ งถวายคำ แนะนำให คณะแพทย ผู เชี่ ยวชาญตรวจพระวรกายอย างละเอี ยดด วย และข อหนึ่ งที่ คณะแพทย ฝรั่ งถวายคำแนะนำในการรั กษาก็ คื อ “การอาบ-อบ-นวด และดื่ มน้ ำแร บำบั ดสุ ขภาพ” เพื่ อขั บสารพิ ษ ออกจากร างกายด วยวิ ธี ธรรมชาติ บำบั ด หรื อที่ เรี ยกกั นในป จจุ บั น ว า “สปา” นั่ นเอง (SPA ย อมาจากภาษาละติ นคำว า Sanus Per Aquam) พระองค ได ทรงเล าเรื่ องการเสด็ จฯ ไปทรงอาบน้ ำแร เพื่ อบำบั ดพระสุ ขภาพอย างต อเนื่ องเป นกิ จวั ตรตลอดเวลาที่ ประทั บในยุ โรปไว ในพระราชหั ตถเลขาจำนวน ๔๓ ฉบั บที่ ทรงมี ไปถึ งพระราชธิ ดา สมเด็ จพระเจ าลู กเธอเจ าฟ านิ ภานภดลวิ มล- ประภาวดี หรื อ “หญิ งน อย” เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๕๐ ตามที่ ปรากฏใน พระราชนิ พนธ “ไกลบ าน” นั บได ว าทรงเป นคนไทยพระองค แรก ที่ ทรงบำบั ดพระสุ ขภาพด วยวิ ธี การแบบสปาเมื่ อ ๑๐๕ ป ก อน ที่ ประเทศเยอรมนี ซึ่ งได ชื่ อว าเป นสถานที่ ตั้ งบ อน้ ำแร ที่ มี คุ ณภาพ และใหญ ที่ สุ ดในยุ โรปเวลานั้ น สปาเป นของใหม สำหรั บคนไทยที่ ยั ง ไม มี ใครรู จั ก ทั้ งที่ มี มานานนั บเป นพั นป แล ว ดั งที่ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ลจอมเกล าเจ าอยู หั วได มี พระราชหั ตถเลขาตอนหนึ่ งว า
Powered by FlippingBook