เทศกาลเดื อนเก า ชาวกะเหรี่ ยงเชื่ อว าคนเรามี ขวั ญอยู ทั้ งหมด ๓๗ ขวั ญ เมื่ อ ตายลง ขวั ญก็ จะละทิ้ งไป แม ขณะยั งมี ชี วิ ตอยู ขวั ญก็ อาจจะหนี ไป ท องเที่ ยว หรื อไม ก็ ถู กผี หรื อวิ ญญาณชั่ วร ายกั กขั งหรื อทำร ายเอาได เป นเหตุ ให เจ าของขวั ญเจ็ บไข ได ป วย ต องรั กษาด วยการเรี ยกขวั ญ กลั บคื นมา ประเพณี กิ นข าวห อ หรื ออั้ งหมี่ ถ อง ตามภาษากะเหรี่ ยง ราชบุ รี ที่ บางครั้ งเรี ยกว าประเพณี รั บขวั ญวั นกิ นข าวห อ หรื องาน บุ ญกิ นข าวห อนี้ เกิ ดจากความเชื่ อที่ ว า ‘เดื อนหล าคอก’ หรื อเดื อน เก าของกะเหรี่ ยง ซึ่ งตกอยู ในราวเดื อนสิ งหาคมตามปฏิ ทิ นสากล เป นเดื อนไม ดี เพราะเป นช วงเวลาที่ บรรดาวิ ญญาณชั่ วร ายออก หากิ นและจะกิ นขวั ญของคนเรา ทำให เจ็ บป วยหรื อเสี ยชี วิ ตได จึ งต องมี การเรี ยกขวั ญให คื นมาอยู กั บตั ว เด็ กที่ เกิ ดในเดื อนนี้ จะ ต องมี การปฏิ บั ติ เป นพิ เศษ คื อต องผู กแขนและข อเท าด วยด าย สี แดง กำหนดจั ดงาน เมื่ อเดื อนหล าคอกเวี ยนมาถึ ง พื ชพั นธุ ธั ญญาหารผลาหาร กำลั งเจริ ญงอกงาม หลั งจากที่ หลายเดื อนก อนหน านั้ น ผู คนต อง เหน็ ดเหนื่ อยตรากตรำกั บการทำงานในไร นาป าเขา ดั งนั้ น ระหว าง รอให พื ชผลงอกงาม เก็ บเกี่ ยวได จึ งมี เวลาว างพอที่ จะกลั บไปรวม อั้ งหมี่ ถ อง
ญาติ ที่ บ านเกิ ดได ชาวกะเหรี่ ยงราชบุ รี ทุ กครอบครั วในทุ กหมู บ าน จึ งกำหนดจั ดงานประเพณี อั้ งหมี่ ถ องขึ้ นภายในเดื อนเก านั บทาง จั นทรคติ แต จะเป นวั นใดนั้ นขึ้ นอยู กั บความพร อมและข อตกลง ร วมกั นของทุ กหมู บ าน หรื ออาจให หั วหน าหมู บ านหรื อผู อาวุ โสใน หมู บ านกำหนด ส วนใหญ ถื อเอาวั นพระเป นเกณฑ แต จะนิ ยมจั ด ในวั นขึ้ น ๑๕ ค่ ำ ป จจุ บั นมั กเลื อกจั ดในวั นเสาร หรื ออาทิ ตย เพื่ อ ให ลู กหลานที่ ไปเรี ยนหรื อไปทำงานในต างถิ่ นมาร วมพิ ธี ได สะดวก น าสั งเกตว า แต ละหมู บ านจะจั ดให เหลื่ อมวั นกั น เพื่ อให ญาติ พี่ น อง หรื อเพื่ อนฝู งในหมู บ านมี โอกาสผลั ดกั นไปมาหาสู กิ นข าวห อ และร วมสนุ กในงานของชาวกะเหรี่ ยงต างหมู บ านได โดยทั่ วไป ประเพณี นี้ ใช เวลา ๔ วั น แต ในป จจุ บั น ลดลงเหลื อเพี ยง ๒-๓ วั น เท านั้ น ร วมใจห อข าว ก อนวั นงานประมาณ ๒-๓ วั น ชาวกะเหรี่ ยงจะต องเตรี ยม สิ่ งของที่ ใช ในการห อข าว คื อ วั นแรกเป นการเตรี ยมใบผาก (ใบไผ ชนิ ดหนึ่ ง) หรื อใบตอง มะพร าว น้ ำตาลหรื อน้ ำผึ้ ง ตอกไม ไผ และ ข าวเหนี ยวดิ บ เริ่ มจากคนในครอบครั วและญาติ พี่ น องช วยกั น ห อข าว โดยนำข าวเหนี ยวกรอกลงในใบตองหรื อใบผากที่ ขึ้ นเป น รู ปกรวย ยาวประมาณนิ้ วมื อ เหลื อขอบปากกรวยไว สำหรั บพั บให มิ ดชิ ด แล วใช เส นตอกพั นให แน นกั นข าวร วงจากห อ ข าวห อของ กะเหรี่ ยงนี้ มี ลั กษณะคล ายกั บข าวต มน้ ำวุ นของไทย ข าวห อที่ ใช ในพิ ธี เรี ยกขวั ญเรี ยกว า ‘ข าวครู ’ มี ลั กษณะพิ เศษ คื อ ใช ไม ไผ ริ้ วขนาดนิ้ วมื อท อนเดี ยว หรื อแขนงไม ไผ ยาวศอกเศษ มาจั กแยกออกเป นตอกเส นเล็ กๆ ตามจำนวนที่ ต องการ แล วมั ด ห อข าวแบบธรรมดารวมกั นเป นพวง บ านหนึ่ งจะมี ๑ พวง ถื อเป น การรวมพี่ รวมน อง หากครอบครั วใดมี คนเกิ ดเดื อนเก า จะต องทำ ข าวครู เพิ่ มอี กหนึ่ งพวง และมั กจะทำเกิ นจำนวนอายุ เช น คนเกิ ด เดื อนเก าที่ มี อายุ ๔๐ ป ต องจั กตอกเพื่ อมั ดข าวห อเป นพวงให ได มากกว า ๔๐ ห อ คื อมี นั ยว าให มี อายุ ยื นยาวกว า ๔๐ ป ข าวครู นี้ เมื่ อเสร็ จพิ ธี แล ว จะนำไปบู ชาไว บนหิ้ งพระหรื อหั วนอนตลอดป คุ ณโยธิ น อ่ ำแห ผู ช วยพนั กงานพิ ทั กษ ป า หน วยป องกั น รั กษาป าที่ ๔ โป งกระทิ ง ชาวพระประแดง จั งหวั ดสมุ ทรปราการ ผู ให ความอนุ เคราะห เรื่ องข อมู ลและการถ ายภาพงานประเพณี อั้ งหมี่ ถ องในครั้ งนี้ ช วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม จากประสบการณ ที่ ได เข า ไปเป นสมาชิ กคนหนึ่ งในครอบครั วชาวกะเหรี่ ยงบ านโป งกระทิ งบน มานานกว าสิ บป ว า “ข าวห อจำนวนมาก ที่ นำมามั ดไว ด วยกั นเป นพวง ด วยแขนง ไม ไผ เส นเดี ยวที่ จั กแยกเป นตอกเส นเล็ กๆ เหมื อนการแตกกิ่ งก าน สาขานั้ น ก็ เปรี ยบได กั บการแตกลู กแตกหลานออกไปเป นหลาย ครอบครั ว แต ยั งคงมี ความสามั คคี กลมเกลี ยวเป นน้ ำหนึ่ งใจเดี ยว กั น การห อข าวนี่ ตามปกติ จะห อกั นเป น ๓ แบบ มี ข าวห อตั วผู หมายถึ ง พ อ ข าวห อตั วเมี ย หมายถึ ง แม และข าวห อธรรมดา หมายถึ ง ลู กๆ”
Powered by FlippingBook