Quarter 2/2016

มหาพรหมราชิ นี

มหาพรหม (Mitrphorawinitii) เป นไม ในสกุ ล มหาพรหม ของวงศ กระดั งงา มี ความสู ง ๓-๖ เมตร มี ใบรู ปรี ขนาดใหญ เนื้ อใบหนา ผิ วใบมี ขนสั้ นนุ มมื อ ด านล างของใบมี เส นกลางใบและเส นแขนงใบนู นเด น เป นพรรณไม ของไทย ที่ ไม มี ในประเทศอื่ น มี ถิ่ นกำเนิ ด และกระจายพั นธุ อยู ตามภู เขาหิ นปู นในจั งหวั ด ประจวบคี รี ขั นธ เพชรบุ รี ราชบุ รี และกาญจนบุ รี ล าสุ ดมี การพบบนเขาหิ นปู นในจั งหวั ดอุ ทั ยธานี ดอกมี ลั กษณะเช นเดี ยวกั บต นกลาย คื อมี ๖ กลี บ เรี ยง ๒ ชั้ น ชั้ นละ ๓ กลี บ ชั้ นนอกกลี บดอกสี ขาว รู ปขอบขนานบานกางออก ชั้ นในสี เลื อดนกขอบกลี บ ประกบกั นเป นรู ปกระเช า ออกดอกในช วงเดื อน เมษายน-พฤษภาคม และมี กลิ่ นหอมอ อน วั นดี คื นดี กลี บดอกชั้ นนอกที่ เคยมี แต สี ขาว ก็ มี ลายสี ม วงแดง สวยงาม เรี ยกว า มหาพรหมลายแดง แล วก็ ลดความสู ง เหลื อ ๑-๒ เมตร และทยอยออกดอก ส วนเทคนิ คที่ จะสรรหา มหาพรหมลายแดง ต นเล็ กๆ และยั งไม ออกดอกนั้ น ขอบอกว าผู เชี่ ยวชาญ ยั งถู กหลอกมานั กต อนั กแล ว มหาพรหมราชิ นี (Mitrephorasirikitiae) เป นที่ ฮื อฮา กั นมากในช วงป พ.ศ. ๒๕๔๗ ที่ มี การประกาศข าวการ สำรวจพบพรรณไม ชนิ ดใหม ของโลกอย างเป นทางการ เนื่ องด วยได รั บพระราชทานพระราชานุ ญาตจากสมเด็ จ พระนางเจ าสิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี นาถ ให ใช พระนามา- ภิ ไธย เป นชื่ อพฤกษศาสตร ว า Mitrephorasirikitiae เนื่ องจากมหาพรหมราชิ นี เป นพรรณไม ที่ ดอกมี ขนาด ใหญ ที่ สุ ดในสกุ ลมหาพรหมที่ อยู ทั่ วโลก ๔๘ ชนิ ด สมพระเกี ยรติ ยศตามพระนาม และเนื่ องจากพรรณไม ในสกุ ลมหาพรหม มี ความสวยและสง างามที่ สุ ดในวงศ กระดั งงา จนได รั บเกี ยรติ ว าเป น ราชิ นี ของวงศ กระดั งงา

ข าวหลามดง (Goniothalamuslaoticus) เป นไม ต น ขนาดเล็ กหรื อไม พุ มในสกุ ลปาหนั นในวงศ กระดั งงา มี ความสู ง ๒-๕ เมตร แตกกิ่ งตั้ งฉากกั บลำต นจำนวนมาก มี ใบรู ปขอบขนาน ผิ วใบสี เขี ยวเข มเป นมั นวาวออกดอก สี เหลื องตามลำต นและกิ่ งแก ในช วงเดื อนกุ มภาพั นธ ถึ ง มี นาคม ข าวหลามดงเป นพรรณไม ป าที่ รู จั กกั นดี โดยเฉพาะผู คนในชนบท เนื่ องจากขึ้ นกระจายพั นธุ นั บตั้ งแต ภาคเหนื อ ภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ ภาคกลาง และภาคตะวั นออก ขึ้ นได ทั้ งบนพื้ นราบและภู เขา ชาวกระเหรี่ ยงหรื อปากะญอเรี ยกต นนี้ ว า เมต อควะ ซึ่ งแปลตรงตั วว า ข าวหลามดง สาเหตุ ที่ มี ชื่ อเรี ยก ข าวหลามดง ก็ เนื่ องจาก มี คนตั ดไม ชนิ ดนี้ ในป าแล ว นำลำต นและกิ่ งมาเผาไฟ เพื่ อใช ที่ ดิ นปลู กสร างกระต อบ ปรากฏว า เมื่ อเผาไฟ จะมี กลิ่ นหอมเหมื อนข าวหลาม และต นนี้ ขึ้ นอยู ในป าในดง จึ งเรี ยกต นนี้ ว า ข ามหลามดง (เพื่ อไม ให ซ้ ำกั บอี กชนิ ดหนึ่ งที่ มี ชื่ อว า ข าวหลาม) ข าวหลามดงเป นพื ชสมุ นไพรท องถิ่ น มี สรรพคุ ณบำรุ ง น้ ำนมในสตรี หลั งคลอดบุ ตร ปรากฏว า วั นดี คื นดี จากข าวหลามดงที่ มี ความสู ง ๒-๕ เมตร ก็ เตี้ ยลงมา เหลื อความสู งเพี ยง ๑ เมตร ดอกที่ ออกตามลำต นและ กิ่ ง ก็ เลื่ อนมาออกที่ ปลายยอด เรี ยกว า ข าวหลามดง ดอกยอด จากกลี บดอกที่ เคยมี สี เหลื องนวล ก็ เปลี่ ยน เป นสี ชมพู หรื อสี แสด และออกดอกทยอยไปได เรื่ อยๆ วิ ธี การที่ จะหาต นข าวหลามดงดอกยอด ก็ ไม มี อะไรซั บซ อน เพี ยงแต ดู ในช วงออกดอกว า อยู ที่ ยอด หรื อไม สี อะไร ออกดอกช วงไหน และมี ความสู งเพี ยงใด แต ถ าเลื อกซื้ อขณะต นสู ง ๑ คื บแล วได ลั กษณะดี ครบถ วน เรี ยกว า สุ ดยอดเซี ยน หรื ออาจจะดวงดี ก็ ได

Powered by