Quarter 1/2017

Ê¹Ø ¡¤Ô ´ Ê¹Ø ¡ÊÃŒ Ò§ÊÃä STEM Maker Day õð »‚ º¹àÊŒ ¹·Ò§ÊÙ‹ ¡ÒÃ໚ ¹âç¡ÅÑè ¹ÃÐ´Ñ ºâÅ¡ ¢Í§âç¡ÅÑè ¹¹é ÓÁÑ ¹àÍÊâ«‹ ÈÃÕ ÃÒªÒ ¤‹ ÒÂÇÔ ·ÂÒÈÒʵÏ àÂÒǪ¹ ¡Ñ º ;Ǫ. àÃ×è ͧàÅ‹ ÒªÒÇâç¡ÅÑè ¹

๒ ๘ ๒ ๐ ๑ ๒ ๒ ๖

´Í¡¾Ø ´¾×é ¹àÁ× Í§ä·Â

¹Ñ ¡Í¹Ò¤µÇÔ ·ÂÒ´Œ Ò¹¾ÅÑ §§Ò¹: àª×é Íà¾ÅÔ §ã¹Í¹Ò¤µ

àÃ×è ͧàÅ‹ ÒªÒÇâç¡ÅÑè ¹

รั กนา

Ê¹Ø ¡¤Ô ´ Ê¹Ø ¡ÊÃŒ Ò§ÊÃä ÇÑ ¹¤‹ ÒÂÇÑ ²¹¸ÃÃÁ ÇÔ ·ÂÒÈÒʵÏ ¡Ñ º ;Ǫ.

¼Œ Ò·ÍÁ× Í¤Ø ³Â‹ Ò·‹ Ò¹

ป ดหิ น

คำมอกหลวง

Natural Science

ดอกพุ ด

´Ã.» ÂÐ à©ÅÔ Á¡ÅÔè ¹

พื้ นเมื องไทย

พุ ดโกเมน (Rothmannialongiflora Salisb.) พุ ดหอม (Rothmanniauranthera (C.E.C. Fisch.) พุ ดหอมไทย (Rothmanniathailandica Tirveng.) เมื่ อคนรุ นก อนตั้ งชื่ อ เรี ยกผิ ด ทำให คนรุ นต อมาเรี ยกชื่ อตามและเข าใจผิ ด ตามไปด วย

เนื่ องจากคนไทยยั งไม มี ข อกำหนดที่ ชั ดเจน ในการเรี ยกชื่ อต นไม โดยทั่ วไปเป นความเข าใจกั นเอง โดยดู จากภาพรวม นั บได ว าเป นการเรี ยกโดยรวมๆ แล วยอมรั บกั นอยู ในคนกลุ มหนึ่ ง ในขณะที่ คนอี ก กลุ มหนึ่ งยั งไม เข าใจ หรื อไม ยอมรั บ จึ งมี ความคิ ด ในการเรี ยกชื่ อแตกต างกั นออกไปโดยลำดั บ ดั งเช น คำว า “ดอกพุ ด” คนส วนใหญ เข าใจว าเป นดอกไม สี ขาว หรื อดอกสี เหลื อง กลิ่ นหอม ขนาดใหญ พอประมาณ แต ไม ระบุ ชั ดเจนว า ดอกใหญ แค ไหน มี กี่ กลี บ หรื อว า มี ลั กษณะเด นที่ จะบ งบอกได ว า นี่ คื อลั กษณะของ ต นพุ ดและดอกพุ ด ในขณะที่ การจำแนกพรรณไม ทาง พฤกษศาสตร มี ข อกำหนดที่ ชั ดเจนว า ดอกพุ ด อยู ใน สกุ ลพุ ด (Genus Gardenia) หรื อบางคนเรี ยกสกุ ล คำมอก อยู ในวงศ เข็ ม (Family Rubiaceae) และมี ลั กษณะตามที่ กำหนดไว เท านั้ น จึ งจะเรี ยกได ว า ดอกพุ ด เป นธรรมดาของคนไทย เมื่ อไม มี กฎเกณฑ ที่ แน นอน แล วมี ดอกไม ที่ ลั กษณะใกล เคี ยงกั บพุ ด ก็ เหมา เรี ยกว า เป นดอกพุ ดไปด วย ทั้ งๆ ที่ อยู ในสกุ ลอื่ นๆ ที่ มิ ใช Gardenia อาทิ เช น พุ ดพิ ชญา (Wrightiaantidy senterica (L.) R. Br.) พุ ดตาน (Hibiscus mutabilis L.) พุ ดตะแคง (Brunfelsiaamericana L.) พุ ดจี บ (Taber naemontanadivaricata (L.) R. Br. ex Roem.&Schult.) พุ ดฝรั่ ง (Tabernaemontanapandacaqui Lam.) พุ ดเศรษฐี สยาม (Tabernaemontanapachysiphon Stapf) พุ ดสามสี (Brunfelsiauniflora (Pohl) D. Don) พุ ดแตรงอน (Euclinialongiflora Salisb.) พุ ดทุ ง (Holarrhenacurtisii King & Gamble) พุ ดราชา (Clerodendrumschmidthii C. B. Clarke) พุ ดชมพู (Kopsiarosea D. J. Middleton) พุ ดก านยาว (Tabernaemontanapeduncularis Wall.)

คำมอกหลวง ดอกดกเต็ มต น

Thailand’s Gardenia Families

Thai b otanist Piya Chalermklin introduced a variety of Thailand’s Gardenia families and where to find them.

ดั งนั้ น มารู จั กดอกพุ ดแท ๆ ตามหลั กการจำแนก พรรณไม ที่ อยู ในสกุ ล Gardenia กั นดี กว า โดยทั่ วไป มี อยู ทั่ วโลก ประมาณ ๑๔๐ ชนิ ด และเป นพรรณไม พื้ นเมื องที่ อยู ในประเทศไทย ประมาณ ๑๓ ชนิ ด สกุ ลนี้ เป นไม ต นขนาดเล็ กถึ งขนาดกลาง หรื อเป นไม พุ ม ส วนต างๆ เมื่ ออ อนมี ยางติ ดอยู ใบออกตรงข ามเป นคู มี ก านใบ เนื้ อใบหนาเหนี ยวคล ายหนั งหรื อยาง ปลาย หู ใบมี น้ ำยางสี เหลื องติ ดอยู มี ดอกเดี่ ยวที่ ปลายยอด โคนกลี บดอกเป นหลอด ดอกหอม มี ส วนต างๆ ของดอกอย างละ ๕-๑๐ สมบู รณ เพศ ดอกสี ขาวหรื อ เหลื อง ผลมี เปลื อกหนา เนื้ อในผลแยกเป น ๕-๘ ส วน เมล็ ดแบน เมื่ อรู จั กลั กษณะโดยรวมของสกุ ลนี้ แล ว คราวนี้ มารู จั กดอกพุ ดพื้ นเมื องจริ งๆ กั นบ าง รั กนา (Gardenia carinata Wall. exRoxb.) มี ชื่ อ ท องถิ่ น เช น ตะบื อโก บาแยมาเดาะ พุ ดน้ ำบุ ศย ระนอ ระไน รั ตนา เป นไม ต นผลั ดใบเล็ กน อย สู ง ๔-๗ เมตร ทรงพุ มกลมแน น ใบรู ปหอก ติ ดอยู เป น กระจุ กที่ ปลายกิ่ ง ดอกเดี่ ยวออกปลายยอดขนาด ๖-๙ เซนติ เมตร โคนกลี บดอกเชื่ อมกั นเป นหลอด ปลายแยกเป น ๗ กลี บ ขอบกลี บหยั กเว าคล ายหั วลู กศร เริ่ มบานสี ขาว ต อมาเปลี่ ยนเป นเหลื องนวลและท ายสุ ด สี แสด ผลรู ปทรงกลมรี เมื่ อสุ กสี เหลื อง พบขึ้ นตาม ป าดิ บชื้ นในภาคใต ระดั บ ๑๐๐-๔๐๐ เมตร รวมทั้ ง ในประเทศมาเลเซี ย สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การ เพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง ออกดอกพร อมกั น เต็ มต นในช วงเดื อนมี นาคม รั กนาเป นพรรณไม ในสกุ ลนี้ ที่ มี ทรงพุ มขนาดใหญ สุ ด มี ขนาดใบและดอกขนาดใหญ ที่ สุ ด ดอกที่ ใกล โรยมี สี เข มจั ดจ านมากที่ สุ ด เป นเรื่ องแปลกที่ รั กนา พื ชพื้ นเมื องของไทย กั บพุ ดน้ ำบุ ศย ซึ่ งเป นไม ดอกไม ประดั บจากต างประเทศ มี ชื่ อพฤกษศาสตร เหมื อนกั น คื อ Gardenia carinata Wall. exRoxb. เนื่ องจากมี รู ปทรงดอกที่ เหมื อนกั น ทั้ งๆ ที่ มี ขนาดทรงพุ ม ใบ ดอกและผลแตกต างกั นมาก พุ ดผา (Gardenia collinsiae Craib) มี ชื่ อท องถิ่ น เช น ข อยด าน ข อยหิ น พุ ด เป นไม ต นผลั ดใบ สู ง ๓-๕ เมตร ใบอยู ชิ ดกั นทำให ดู เป นกระจุ กใกล ปลายกิ่ ง รู ปรี แกมรู ปสี่ เหลี่ ยมขนมเป ยกปู น ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง และง ามใบ ขนาด ๕-๖ เซนติ เมตร โคนกลี บดอกเชื่ อมกั น เป นหลอด ปลายแยกเป น ๕-๖ กลี บ สี ขาว ต อมาเป น สี เหลื องนวล กลิ่ นหอม ผลรู ปกลม ขนาด ๑.๕-๒ เซนติ เมตร ผลสุ กสี น้ ำตาล สภาพนิ เวศวิ ทยาและการ กระจายพั นธุ พบขึ้ นตามป าเบญจพรรณ ป าดิ บแล ง

พุ ดผา

คำมอกน อย

พุ ดน านเจ า

พุ ดสี

คำมอกน อย บานเต็ มต น

และตามเขาหิ นปู น ในภาคตะวั นออก ภาคกลางและ ภาคตะวั นตก ระดั บ ๕๐๐-๗๐๐ เมตร สามารถขยาย พั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การเพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง ออกดอกพร อมกั นเต็ มต นในช วงเดื อนกุ มภาพั นธ -มี นาคม เด นสะดุ ดตาสี ขาวโพลน และออกทะยอยได อี กจนสิ้ น ฤดู ฝน คำมอกน อย (Gardenia obtusifolia Roxb. exHook.f.) มี ชื่ อท องถิ่ น เช น กระบอก กระมอบ ไข เน า คมขวาน ฝรั่ งโคก พญาผ าด าม พุ ดนา สี ดาโคก เป นไม ต นผลั ดใบ สู ง ๓-๕ เมตร เรื อนยอดโปร ง ใบรู ปไข ปลายใบมน ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง ดอกบานขนาด ๕-๖ ซม. โคนกลี บดอกเชื่ อมกั นเป นหลอด ปลายแยกเป น ๕ กลี บ สี ขาวแล วเปลี่ ยนเป นเหลื อง ผลทรงกลมสี น้ ำตาลแกม เขี ยว สภาพนิ เวศ พบตามป าเบญจพรรณและเขาหิ นปู น ทางภาคเหนื อ ตะวั นออกเฉี ยงเหนื อและภาคตะวั นตก สถานภาพเป นไม หวงห ามประเภท ก การขยายพั นธุ ที่ เหมาะสมที่ สุ ดคื อ วิ ธี การเพาะเมล็ ด ส วนวิ ธี การอื่ นๆ ได ผลต่ ำมาก ต นคำมอกน อยที่ ขึ้ นอยู ในพื้ นที่ แห งแล ง จะผลั ดใบและออกดอกดกเต็ มต นในช วงเดื อนกุ มภาพั นธ เด นสะดุ ดตามากในป าโปร งและส งกลิ่ นหอมแรง คำมอกหลวง (Gardenia sootepensis Hutch.) มี ชื่ อท องถิ่ น เช น ไข เน า คำมอกช าง ผ าด าม ยางมอก ใหญ สะแล งหอมไก หอมไก เป นไม ต นผลั ดใบ สู ง ๕-๘ เมตร ใบรู ปไข กว างหรื อรู ปรี จุ ดเด นตรงตายอด จะมี น้ ำยางเหนี ยวสี เหลื องหรื อสี ส มติ ดอยู ดอกเดี่ ยว โคนกลี บดอกเป นหลอดยาว ปลายแยกเป น ๕ กลี บ ดอกมี ขนาด ๖-๘ เซนติ เมตร เมื่ อแรกแย มมี สี ขาว แล วเปลี่ ยนเป นสี เหลื องเข ม ผลทรงกลมหรื อรู ปไข ผลแก สี น้ ำตาลเข ม นิ เวศวิ ทยา พบตามป าเต็ งรั งและ ป าเบญจพรรณ ในระดั บใกล น้ ำทะเลถึ ง ๙๐๐ เมตร สถานภาพเป นไม หวงห ามธรรมดาประเภท ก. สามารถ ขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การเพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง ต นคำมอกหลวงออกดอกดกเต็ มต นในช วง เดื อนกุ มภาพั นธ -มี นาคม เด นสะดุ ดตามากในป าโปร ง และส งกลิ่ นหอมแรงต นที่ ขึ้ นอยู ในที่ แห งแล ง จะผลั ดใบ และออกดอกดกมาก ในป จจุ บั นมี การคั ดเลื อกพั นธุ ที่ ออกดอกได ตลอดป

ผ าด าม (Gardenia coronaria Buch.-Ham.) มี ชื่ อ ท องถิ่ น เช น คงคา คำมอก ชั นยอด ป นยอด พุ ดน้ ำ พุ ดใหญ อ างว าง เป นไม พุ มหรื อไม ต นขนาดเล็ ก สู ง ๑-๒ เมตร ใบรู ปไข กลั บ ปลายใบมนหรื อแหลมสั้ น ดอกเดี่ ยว โคนกลี บดอกเป นหลอดยาว ปลายแยกเป น ๗ กลี บ ดอกมี ขนาด ๖-๘ เซนติ เมตร เมื่ อแรกแย ม มี สี ขาว แล วเปลี่ ยนเป นสี เหลื องผลรู ปทรงกลมรี สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การเพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง และป กชำ ต นผ าด ามออกดอกดกเต็ มต นในช วงเดื อน กุ มภาพั นธ -มี นาคม สี ดา (Gardenia griffithii Hook.f.) มี ชื่ อท องถิ่ น เช น ตะเกี ยง ปะลี ตอ เป นไม ต นขนาดเล็ ก สู ง ๒-๓ เมตร ทรงพุ มกลมโปร ง ใบรู ปรี กว าง ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง สี ขาว โคนกลี บดอกเป นหลอด ปลายแยกเป น ๖ กลี บ เมื่ อบานมี เส นผ านศู นย กลาง ๔-๕ เซนติ เมตร ผลกลม แป นสี เขี ยวสดปลายผลมี กลี บเลี้ ยงเป นหลอดยาวติ ดอยู เมื่ อสุ กสี เขี ยวอมเหลื อง มี กระจายพั นธุ ในป าพรุ ภาคใต และในประเทศมาเลเซี ย สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การ เพาะเมล็ ด และตอนกิ่ ง ออกดอกในช วงเดื อนมี นาคม

พุ ดภู เก็ ต (Gardenia thailandicaTirveng.) มี ชื่ อ ท องถิ่ น เช น พุ ดป า รั กนา เป นไม พุ มหรื อไม ต นขนาดเล็ ก สู ง ๓-๕ เมตร ทรงพุ มกลมโปร ง ใบรู ปใบหอก ดอกเดี่ ยว ออกปลายกิ่ ง โคนกลี บดอกเป นหลอด ปลายแยกเป น ๕ กลี บ เมื่ อบานมี เส นผ านศู นย กลาง ๕-๖ เซนติ เมตร สี ขาวแล วเปลี่ ยนเป นสี เหลื อง ผลกลมสี เขี ยวสดเป น พรรณไม ถิ่ นเดี ยวของไทย มี กระจายพั นธุ อยู เฉพาะใน จั งหวั ดภู เก็ ต พั งงา ตรั งและสตู ล ชอบขึ้ นใกล ชายทะเล สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การเพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง พุ ดภู เก็ ตออกดอกเต็ มต นในช วง เดื อนเมษายนและทะยอยออกได ตลอดป ผู ที่ ไปเยื อน จุ ดชมวิ วบนหาดกะตะ ของจั งหวั ดภู เก็ ตในเดื อนเมษายน จะชื่ นชมต นพุ ดภู เก็ ตที่ ออกดอกดกเต็ มต น ทั้ งสี ขาว สี เหลื อง พร อมทั้ งส งกลิ่ นหอมไปไกล พุ ดน านเจ า (Gardenia sp.) เป นพุ ดชนิ ดใหม ที่ ยั งรอรายงานการตั้ งชื่ อ พบในจั งหวั ดน าน ขึ้ นอยู ใน พื้ นที่ ระดั บสู ง เป นไม ต นผลั ดใบขนาดเล็ ก สู ง ๔-๖ เมตร ทรงพุ มกลมโปร ง ใบรู ปใบหอก ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง โคนกลี บดอกเป นหลอด ปลายแยกเป น ๕ กลี บ ดอก ขนาด ๔-๕ เซนติ เมตร สี ขาวแล วเปลี่ ยนเป นสี เหลื อง ผลทรงกลมรี ปลายผลมี ครี บยาว สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การเพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง พุ ดน านเจ าออกดอกเต็ มต นในช วงเดื อนมี นาคม

ป ดหิ น (Gardenia saxatilis Geddes) มี ชื่ อท องถิ่ น เช น ข อย ข อยโคก ข อยหิ น พุ ดผา เป นไม พุ มลำต น แคระแกรน สู ง ๑-๒ เมตร แตกกิ่ งมากและเปลี่ ยนเป น หนามแข็ งแหลมยาว ใบรู ปไข กลั บ ปลายใบมน ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง สี ขาว โคนกลี บดอกเป นหลอด ปลายแยกเป น ๖ กลี บ เมื่ อบานมี เส นผ านศู นย กลาง ๕-๖ เซนติ เมตร ผลกลมสี เขี ยวสดเมื่ อผลสุ กสี ส ม มี กระจายพั นธุ ในประเทศลาวและกั มพู ชาด วย ชอบขึ้ น ตามซอกลานหิ น การขยายพั นธุ ที่ เหมาะสมที่ สุ ดคื อ วิ ธี การเพาะเมล็ ด ส วนวิ ธี การอื่ นๆ ได ผลต่ ำมาก สำหรั บ ผู ที่ ต องการชมต นป ดหิ นจำนวนมาก ในบริ เวณกว างขวาง ที่ องค การบริ หารส วนตำบล (อบต.) หนองข า อำเภอ เกษตรสมบู รณ จั งหวั ดชั ยภู มิ มี สวนป ดหิ นเพื่ อการ ท องเที่ ยว พุ ดสี (Gardenia tubifera Wall. exRoxb.) มี ชื่ อ ท องถิ่ น เช น กอนอบู เกะ จำปา พุ ดป า เป นไม พุ ม ขนาดเล็ ก สู ง ๒-๓ เมตร เจริ ญเติ บโตช า ทรงพุ มแผ กลม และโปร ง ใบรู ปใบหอก ดอกเดี่ ยวออกปลายกิ่ ง โคนกลี บ ดอกเป นหลอด ปลายแยกเป น ๘ กลี บ เรี ยงเวี ยนซ อนกั น โดยไม มี ช องโหว ขอบกลี บหยั กเว าคล ายหั วลู กศร ดอกบานมี ขนาด ๕-๖ เซนติ เมตร สี เหลื องแล วเปลี่ ยน สี แสด ผลทรงกลมแป นสี เขี ยวเข มเป นมั น ปลายผลมี กลี บเลี้ ยงเป นหลอดติ ดอยู เมื่ อสุ กสี เขี ยวอมเหลื อง แล วแตกเห็ นเปลื อกผลด านในเป นสี แสด กระจายพั นธุ อยู ตามที่ ชื้ นแฉะ ริ มหนองในภาคตะวั นออกและใน ภาคใต จนถึ งมาเลเซี ย สามารถขยายพั นธุ ได ทั้ งวิ ธี การ เพาะเมล็ ด ตอนกิ่ ง เสี ยบยอด ทาบกิ่ ง พุ ดสี ออกดอก เต็ มต นเกื อบตลอดป

พุ ดสี

พรรณไม ที่ อยู ในสกุ ลที่ ใกล เคี ยงกั บ Gardenia คื อ สกุ ลพุ ดน้ ำ (Genus Kailarsenia) มี ลั กษณะเป นไม พุ มเตี้ ย ขึ้ นอยู ใกล แหล งน้ ำ ทนน้ ำท วม ใบเรี ยวเล็ ก ออกตรงข าม เป นคู ออกสลั บตั้ งฉาก ก านดอกยาว กลี บดอกสี ขาว ๖ กลี บ ผลรู ปทรงรี เปลื อกผลมี ๖ ครี บ เช น ต นอิ นถวา น อย (Kailarsenialineata) ที่ ขึ้ นอยู ในภาคตะวั นออก เฉี ยงเหนื อและในประเทศลาว ต นพุ ดน้ ำ (K. campanula) ที่ อยู ในภาคใต ต นพุ ดหนอง (K. godefroyana) ที่ อยู ในภาคตะวั นออก ต นพุ ดป า (K. hygrophila) ที่ อยู ใน ภาคเหนื อ พรรณไม ในสกุ ลพุ ดพื้ นเมื องและสกุ ลใกล เคี ยง ได รั บความนิ ยมนำมาปลู กเป นไม ดอกไม ประดั บ ทั้ งไม ดอกกระถาง และปลู กประดั บลงแปลงกลางแจ ง เหมาะสมต อการจั ดงานภู มิ ทั ศน ไม ดอกเหล านี้ ได รั บ ความนิ ยมนำไปปลู กประดั บในต างประเทศเช นกั น พบได ตามบ านพั ก สวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร สำหรั บการใช ประโยชน ในด านอื่ น พบว าเนื้ อไม ของพุ ด จะให สี ย อมเป นสี เหลื อง ส วนการนำเนื้ อไม พุ ดมาทำหวี กล าวกั นว า เมื่ อใช หวี แล วเส นผมไม แตกปลาย ในป จจุ บั น พุ ดพื้ นเมื องของไทย มี ชื่ อที่ เรี ยกเป น ทางการตามหนั งสื อชื่ อ พรรณไม แห งประเทศไทย โดย เต็ ม สมิ ติ นั นทน ฉบั บแก ไขเพิ่ มเติ ม พ.ศ. ๒๕๕๗

อย างไรก็ ตาม พุ ดแต ละชนิ ดยั งมี ชื่ อท องถิ่ นหลายชื่ อ และซ้ ำกั นไปมาในระหว างชนิ ด สร างความสั บสน ให คนไทยเป นอย างมาก แต การเรี ยกชื่ อพรรณไม ของ ชาวต างชาติ และนั กวิ ชาการของไทยที่ ใช ชื่ อพฤกษศาสตร เป นเกณฑ จะแก ป ญหานี้ ได หมดสิ้ น พรรณไม ในสกุ ล Gardenia จากต างประเทศที่ มี การ นำเข ามาปลู กประดั บในประเทศไทย นั บวั นก็ จะมี เพิ่ ม มากขึ้ นโดยลำดั บ อั นเนื่ องมาจากความสวยงามของ ทรงพุ มที่ เหมาะสมต อการจั ดงานภู มิ ทั ศน ความสวยงาม ของดอกและมี กลิ่ นหอมชวนดม จนถึ งป จจุ บั น มี หลาย ชนิ ด

ดร.ป ยะ เฉลิ มกลิ่ น ทำงานวิ จั ยเกี่ ยวกั บเรื่ องทางด านเทคโนโลยี การเกษตร ในการพั ฒนา พรรณไม ที่ หายากและใกล สู ญพั นธุ เพื่ อการใช ประโยชน และอนุ รั กษ อย างยั่ งยื น

พุ ดภู เก็ ต

Energy & Innovation

Energy Futurists: Fueling the future Creating gasoline today that will fuel cars of tomorrow It sounds like the stuff of movies and sci-fi novels, but in a small pilot lab in Clinton, New Jersey, an elite group of ExxonMobil engineers is developing gasoline of the future. Creating fuel for cars that aren’t even on the market seems outrageous—impossible, even—but it’s happening now. The challenge in this case is that by 2040 there will be 1.8 billion cars, light trucks and SUVs in the world, up from 1 billion now. Since a major focus for governmental entities and energy producers will be on reducing carbon-intensive output, ExxonMobil looked straight at the heart of the automobile and its source of power: the engine.

ฟ งดู เหมื อนเป นสิ่ งที่ เกิ ดขึ้ นในนิ ยายหรื อภาพยนตร แนววิ ทยาศาตร แต เรื่ องนี้ เกิ ดขึ้ นภายในห องทดลอง เล็ กๆ ที่ เมื องคลิ นตั น รั ฐนิ วเจอร ซี ที่ ซึ่ งกลุ มวิ ศวกรชั้ นนำ ของเอ็ กซอนโมบิ ล กำลั งพั ฒนาน้ ำมั นเบนซิ นสำหรั บ อนาคต การคิ ดค นเชื้ อเพลิ งสำหรั บรถยนต ซึ่ งยั งไม ได วางตลาดเลย ดู เหมื อนเรื่ องประหลาด หรื อ เป นไปไม ได เลยที เดี ยว แต ก็ เป นเรื่ องที่ เกิ ดขึ้ นแล วในตอนนี้

เครื่ องปฏิ กรณ สำหรั บการทดสอบเชื้ อเพลิ งสำหรั บอนาคต ในโรงงานขนาดเล็ กของห องทดลอง

ในกรณี นี้ สิ่ งที่ ท าทายก็ คื อ เมื่ อถึ ง พ.ศ. ๒๕๘๓ คาดว าจะมี รถยนต รถบรรทุ กขนาดเล็ ก และรถเอสยู วี ถึ ง ๑๘,๐๐๐ ล านคั น เพิ่ มจาก ๑๐,๐๐๐ ล านคั นใน ป จจุ บั น เนื่ องจากจุ ดสนใจหลั กของผู ผลิ ตพลั งงานและ วั ตถุ ต างๆ คื อการลดผลผลิ ตที่ มี ปริ มาณคาร บอนเข มข น เอ็ กซอนโมบิ ล มุ งให ความสนใจตรงไปที่ หั วใจและแหล ง พลั งของยานยนต นั่ นคื อ เครื่ องยนต “สั งคมคาดหวั งการประหยั ดเชื้ อเพลิ งมากขึ้ น แต ยั งคงต องการพลั งสำหรั บอั ตราเร ง” Nazeer Bhore ผู จั ดการหน วยวิ จั ยสิ่ งใหม ๆ ด านธุ รกิ จปลายน้ ำ ที่ เอ็ กซอนโมบิ ล กล าว การนำความต องการของผู บริ โภคมาพิ จารณา คื อ สิ่ งที่ นำ Bhore และที มงานไปสู ความคิ ดเจ งๆ เช น การคิ ดค นเชื้ อเพลิ งสำหรั บเทอร โบชาร จเจอร แบบ ก าวหน าในอนาคต ถ าท านได มี โอกาสขั บรถยนต ประหยั ดน้ ำมั นที่ เพิ่ ง วางตลาดเมื่ อเร็ วๆ นี้ ท านอาจสั งเกตว าอั ตราการเร ง เป นสิ่ งที่ ขาดหายไป เครื่ องยนต ประหยั ดน้ ำมั นมี ขนาด เล็ กกว าเครื่ องยนต ของรถยนต และรถบรรทุ กทั่ วไป ดั งนั้ น จึ งไม ค อยมี พลั ง เทอร โบชาร จเจอร ช วยคื นพลั ง นั้ นให แก เครื่ องยนต แม ว าเทอร โบชาร จเจอร อาจดู เหมื อนตั วกิ นน้ ำมั น เมื่ อพิ จารณาจากวิ ธี การที่ ใช ในการ ผลั กดั นรถไปข างหน า แต จริ งๆ แล วมั นกลั บช วยประหยั ด พลั งงาน โดยการนำไอเสี ยกลั บมาใช เมื่ อผู ขั บขี่ ต องการ เร งเครื่ องยนต ดั งนั้ น เนื่ องจากรถใหม ส วนใหญ บนท องถนน จะยั งคงใช น้ ำมั นเบนซิ น หรื อ น้ ำมั นดี เซลอยู ผู ผลิ ต รถยนต จึ งผลิ ตเครื่ องยนต ที่ ใช เชื้ อเพลิ งอย างมี ประสิ ทธิ - ภาพ ซึ่ งจะต องใช น้ ำมั นเชื้ อเพลิ งที่ เหมาะสม น้ ำมั น เบนซิ นที่ วิ ศวกรของเอ็ กซอนโมบิ ล กำลั งพั ฒนาในวั นนี้ จึ งได รั บการปรั บปรุ งให เหมาะสมกั บเครื่ องยนต ในอนาคต ที่ จำเป นต องใช เทอร โบชาร จเจอร

แม ว า การคิ ดค นเชื้ อเพลิ งใหม ๆ จะเป นสิ่ งที่ เอ็ กซอนโมบิ ลชำนาญ บางท านอาจคิ ดว า การคาดการณ ถึ งสิ่ งที่ จะเกิ ดขึ้ นในอี ก ๓๐ ป ข างหน า เป นเรื่ องที่ ยาวนาน เกิ นไป “มั นเป นความเสี่ ยงที่ ได รั บการคำนวนไว แล ว แต เทคโนโลยี เปลี่ ยนแปลงอยู เสมอ และสิ่ งที่ เป นไปไม ได ในอดี ต ก็ เป นสิ่ งที่ เป นไปได ในป จจุ บั น” Bhore อธิ บาย นั กวิ ทยาศาสตร ที่ ห องทดลองของเอ็ กซอนโมบิ ลใน นิ วเจอร ซี ถื อว าเรื่ องนี้ เป นสิ่ งสำคั ญในระดั บต นๆ สิ่ งที่ แน นอนประการหนึ่ ง ก็ คื อ มี การพั ฒนา เชื้ อเพลิ งและน้ ำมั นหล อลื่ นสำหรั บยุ คหน าในห อง ทดลองของเอ็ กซอนโมบิ ล เพื่ อตอบสนองความต องการ หลั กในเรื่ องการประหยั ดน้ ำมั น ความสามารถในการ ทำงานที่ มากขึ้ นโดยใช พลั งงานน อยลง สำหรั บคน จำนวนมากขึ้ น

นั กประดิ ษฐ และ นั กวิ ทยาศาสตร ของเอ็ กซอนโมบิ ล ตรวจสอบเครื่ องปฏิ กรณ ในห องทดลอง ที่ เมื องคลิ นตั น รั ฐนิ วเจอร ซี

แปลและเรี ยบเรี ยงโดย วาสนา ประสิ ทธิ์ จู ตระกู ล จากเว็ บไซต Energy Factor by ExxonMobil

อ างอิ ง : ExxonMobil 2017 Outlook for Energy Report – Global fleet increases and diversifies ExxonMobil 2017 Outlook for Energy Report – Transportation

Sriracha Refinery’s 50 Anniversary

Esso Sriracha Refinery: 50 years of harmonious relationships with Thais Adisak Jangkamolkulchai, director and refinery manager, Esso (Thailand) Public Company Limited, recounted about Esso Sriracha Refinery’s 50 years of harmonious relationships with Thais. He also talked about the reifnery’s successful factors and aspirations.

ใครบางคนเคยบอกผมว า เวลาของความสุ ข มั กผ านไปเร็ วเสมอ ไม น าเชื่ อว า ป นี้ เป นป ที่ โรงกลั่ น น้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา มี อายุ ครบ ๕๐ ป ๕๐ ป ที่ ผ านร อนผ านหนาว ผ านเรื่ องราวและ ความทรงจำมากมาย ถ าเปรี ยบกั บต นไม ผมเชื่ อว า โรงกลั่ นฯ ของเราได แผ กิ่ งใบ หยั่ งรากลึ ก ให ร มเงา ให ดอกออกผลแก คนรอบข าง ชุ มชนโดยรอบ รวมถึ ง ผู คนอี กมากมาย ผมขอเล าย อนไปเมื่ อ ๕๐ ป ก อน ในป พ.ศ.๒๕๑๐ โรงกลั่ นฯ ถื อกำเนิ ดจากโรงงานยางมะตอยเล็ กๆ มี กำลั งการผลิ ตเพี ยง ๗,๐๐๐ บาร เรลต อวั น โดยเอสโซ ได เข าซื้ อเพื่ อนำมาพั ฒนาและเพิ่ มศั กยภาพให เป น แหล งพลั งงานแห งใหม

โรงกลั่ นน้ ำมั น เอสโซ ศรี ราชา

นั บแต น้ ำมั นหยดแรกที่ ได จากการกลั่ น โรงกลั่ น น้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ได กลายเป นขุ มพลั งงานสำคั ญ ที่ หล อเลี้ ยงเคี ยงข างสั งคมไทยมาโดยตลอด หลั งการ ขยายหน วยกลั่ นแล วเสร็ จ เราสามารถกลั่ นน้ ำมั นด วย กำลั งการผลิ ต ๓๕,๐๐๐ บาร เรลต อวั น ต อมาเพิ่ มเป น ๔๖,๐๐๐ บาร เรลต อวั นและ ๖๓,๐๐๐ บาร เรลต อวั น ซึ่ งในป จจุ บั นนี้ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา สามารถ กลั่ นน้ ำมั นได ถึ ง ๑๗๐,๐๐๐ บาร เรลต อวั น ช วงเวลาสำคั ญช วงหนึ่ งของโรงกลั่ นฯ คื อช วงขยาย โรงกลั่ นฯ ในป พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๓๘ ถื อเป นการลงทุ น ครั้ งใหญ ที่ สุ ดของโรงกลั่ นฯ ผมได มี โอกาสเข ามาร วมงาน กั บโรงกลั่ นฯ ในป พ.ศ.๒๕๓๕ ช วงนั้ นนั บเป นช วงเวลา แห งความประทั บใจ มี สิ่ งต างๆ เกิ ดขึ้ นมากมาย เราต องการ คน เทคโนโลยี องค ความรู ซึ่ งสิ่ งเหล านี้ ได รั บการสนั บสนุ นจากบริ ษั ทในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ล ทั่ วโลก ไม ว าจะเป นผู มี ประสบการณ เรื่ องการก อสร าง เรื่ องการเดิ นเครื่ องกลั่ นใหม ๆ ขึ้ นมา เรื่ องเทคโนโลยี จึ งมี คนจากทั่ วโลกเข ามาที่ โรงกลั่ นฯ ของเรา เป นช วง เวลาที่ ท าทายและสนุ กที่ สุ ดช วงหนึ่ งของชี วิ ตการทำงาน ทำให เราประสบความสำเร็ จในการขยายโรงกลั่ น ทั้ งเรื่ องงบประมาณ ระยะเวลาในการก อสร าง จนถึ ง การเดิ นเครื่ องกลั่ น ซึ่ งรวมสุ ดยอดเทคโนโลยี การผลิ ต อั นทั นสมั ย และสถิ ติ การทำงานที่ ปลอดภั ยในระดั บโลก

ถ าถามผมว าอะไรคื อสิ่ งที่ โรงกลั่ นฯ ให ความสำคั ญ เป นอั นดั บต นๆ ก็ ต องตอบว า บุ คลากร ครั บ เพราะถื อ เป นกลไกสำคั ญที่ จะขั บเคลื่ อนองค กรให เดิ นหน าไปได เริ่ มตั้ งแต การคั ดสรรบุ คลากร ซึ่ งเราคั ดจาก the best of the best หลั งจากนั้ นเราดู แลให ทุ กคนมี แผนพั ฒนา ที่ ชั ดเจนและแข็ งแรงตั้ งแต เริ่ มต น ดู ว างานขั้ นแรกเป น อย างไร ขั้ นต อไปเป นอย างไร ต องมี การฝ กฝนในหั วข อ ใด เรื่ องใด ให เหมาะสมกั บศั กยภาพของแต ละคน ดั งนั้ น เราจึ งมี แผนแม บทในการพั ฒนาบุ คลากรของเรา ขึ้ นไปเรื่ อยๆ เพราะบุ คลากรเหล านี้ จะเป นผู นำพา องค กรไปสู ความเจริ ญเติ บโตและเข มแข็ งยิ่ งขึ้ นใน อนาคตและเนื่ องจากมี เครื อข ายบริ ษั ทในเครื อเอ็ กซอน- โมบิ ลอยู ทั่ วโลก จึ งมี การส งบุ คลากรไปฝ กงานทั่ วโลก หรื อไปประจำในประเทศต างๆ ทั้ งหลายทั้ งปวงเป น แผนแม บทที่ เราจะพั ฒนาบุ คลากรของเราตั้ งแต เริ่ มต น จนไปถึ งจุ ดสู งสุ ดที่ ศั กยภาพของพวกเขาจะไปถึ ง มาถึ งเรื่ องที่ โรงกลั่ นฯ ให ความสำคั ญควบคู ไปกั บ เรื่ องของบุ คลากรคื อ เรื่ องของความปลอดภั ย เรามี จุ ดมุ งหมายที่ จะให ทุ กคนที่ มาทำงานที่ นี่ มาอย างไร ต องกลั บไปอย างนั้ น ไม มี แม แต รอยขี ดข วน

ที่ โรงกลั่ นฯ ของเรา เรื่ องของความปลอดภั ย สิ่ งที่ เราพู ด ต องปฏิ บั ติ ตามได ด วย เรามี วิ ธี การ กระบวนการ เครื่ องไม เครื่ องมื อในการตรวจสอบ พู ดคุ ย ชี้ แนะ ต องมี ความปลอดภั ยในทุ กระนาบ ทุ กระดั บ ตลอดเวลา เราต องการให ความปลอดภั ยเป นวั ฒนธรรมองค กร เพราะเราเชื่ อว า อุ บั ติ เหตุ ทุ กอุ บั ติ เหตุ ไม ว าจะในหรื อ นอกโรงกลั่ นฯ สามารถป องกั นได และคนที่ จะป องกั น ได คื อ พวกเรา ครั บ ไม เฉพาะพนั กงานเท านั้ น ผู รั บเหมา อี กเกื อบ ๔๐๐ ชี วิ ต ในโรงกลั่ นฯ เราก็ ให ความสำคั ญทั้ งหมด โรงกลั่ นฯ เราจึ งมี สถิ ติ ความปลอดภั ยที่ ดี เยี่ ยม โดยมี สถิ ติ การทำงานโดยไม มี การบาดเจ็ บที่ ต องหยุ ดงาน เป นเวลากว า ๖ ป และเราเป นโรงกลั่ นเดี ยว (ในเครื อ เอ็ กซอนโมบิ ล) ที่ ทำได ในขณะนี้ ก าวย างต อไปของโรงกลั่ นฯ เราต องการเป น World Class Refinery โดยมี core value ที่ เรี ยกว า SUPER ( S = Sustained Flawless Operations, U = Unity and teamwork, P = People Development, E = Empowered Workforce, R = Relentless Drive to Improve Competitive Position) S คื อเรื่ องความ ปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และสิ่ งแวดล อม U คื อทุ กคน เป นหนึ่ งเดี ยวกั น P คื อ การพั ฒนาบุ คลากร E คื อ การที่ ทุ กคนมี ส วนร วม กล าคิ ด กล าทำ กล าแสดงออก ส วน R คื อ การพั ฒนาตั วเราเองตลอดเวลาให เป นผู นำ ในธุ รกิ จ ดั งนั้ น SUPER จึ งเป นตั วช วยที่ จะนำพา โรงกลั่ นฯ ของเราไปข างหน า ไปสู การเป นโรงกลั่ นระดั บ โลก ด วยสถิ ติ ความปลอดภั ยในระดั บแนวหน าเมื่ อเที ยบ กั บบริ ษั ทในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ลทั่ วโลก เราคว ามาได ถึ ง ๗ รางวั ล และรางวั ลระดั บโลกอี ก ๖ จาก ๗ รางวั ล อ อ..ผมลื มแนะนำตั ว ผม ดร.อดิ ศั กดิ์ แจ งกมลกุ ลชั ย ผู จั ดการโรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ครั บ

ดร.อดิ ศั กดิ์ แจ งกมลกุ ลชั ย ผู จั ดการ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา

Sriracha Refinery’s 50 Anniversary

ทศวรรษที่ ๒ ทศวรรษแห งความเข มแข็ ง

ย างก าวแรก สู ทศวรรษแห งความมั่ นคงและเชื่ อมั่ น

ทศวรรษที่ ๓ ทศวรรษแห งความยิ่ งใหญ

ทศวรรษที่ ๔ ทศวรรษแห งความก าวไกล

สู ทศวรรษที่ ๕ ก าวไกลไปข างหน า สู การเป น โรงกลั่ นระดั บโลก

Contributing to Society

กั บ อพวช.

¹ÒÂÅÙ ¡àµŽ Ò

คุ ณสุ รวงศ วงษ ศิ ริ

“ในนามขององค การพิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร แห งชาติ ผมรู สึ กยิ นดี เป นอย างยิ่ งที่ ได มี โอกาสต อนรั บ ทุ กท านสู อพวช....” สิ้ นเสี ยงกล าวต อนรั บของรองผู อำนวยการ องค การ พิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร แห งชาติ คุ ณสุ รวงศ วงษ ศิ ริ บรรดาเจ าหน าที่ อพวช. ต างเตรี ยมตั วเข าทำหน าที่ พี่ เลี้ ยงประจำกลุ ม ซึ่ งแต ละกลุ มประกอบด วยสมาชิ ก ครอบครั วเอสโซ และครอบครั วสมาชิ กของ อพวช. เอง จำนวนรวม ๑๐๐ คน ความครึ กครื้ นที่ เกิ ดขึ้ นในห องประชุ มยู เรก าภายใน ตึ ก “พิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร ” หรื อที่ หลายคนเรี ยก ติ ดปากว า “ตึ กลู กเต า” ตามลั กษณะอาคารคล ายลู กเต า ตะแคงข าง ๓ ลู ก ในช วงเดื อนธั นวาคม ๒๕๕๙ เป นความร วมมื อระหว าง บริ ษั ท เอสโซ (ประเทศไทย) จำกั ด (มหาชน) กั บ อพวช. ซึ่ งมี วิ สั ยทั ศน สอดคล องกั น ว าอยากเห็ นสั งคมไทยเป นสั งคมวิ ทยาศาสตร คื อสั งคม ที่ คนมี กระบวนการคิ ดแบบวิ ทยาศาสตร มี กระบวนการ ใช เหตุ และผลในการดำเนิ นชี วิ ต คิ ดบนรากฐานความจริ ง

National Science Museum’s “STEM Maker Day” camp Esso (Thailand) Public Company Limited supported the National Science Museum to organize a science youth camp under the theme “STEM Maker Day.” Focused on science, technology, engineering and mathematics, the one-day camp provided a chance for parents to participate in inspiring their children to learn and apply science in their daily lives.

ฐานเจาะลึ กฐานราก สมาชิ กครอบครั วจะได ร วมกั นทำความเข าใจถึ งความสำคั ญของฐานรากจาก ห องนิ วตั น ซึ่ งเป นหนึ่ งในห องที่ จั ดแสดงในพิ พิ ธภั ณฑ ฐานเจงก า เป นการเรี ยนรู วิ ธี การใช เจงก า (Jenga) หรื อเกมตึ กถล ม ซึ่ งเป นเกมที่ นำท อนไม ๕๔ ชิ้ น มาต อ กั นเป นสิ่ งก อสร างให สู งเสี ยดฟ า ฐานกิ จกรรมที่ ออกแบบมาใน ๑ วั นสำหรั บค าย STEM Maker Day จึ งเป นการบู รณาการองค ความรู ทางวิ ทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิ ศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิ ตศาสตร (Mathematics) โดยแต ละฐานเน นให สมาชิ กในครอบครั ว ได ร วมกั นคิ ดเพื่ อแก ป ญหาและหาทางออกอย าง สร างสรรค เมื่ อจบกิ จกรรมในแต ละฐาน สมาชิ กทั้ งหมดก็ ได ฝ กออกแบบตึ กที่ มี รู ปทรงตามใจชอบในชื่ อ "หอคอย กองบั ญชาการสู งสุ ด" โดยใช ความรู ทั้ งหมดที่ เรี ยนมา จากแต ละฐานผสานกั บความคิ ดสร างสรรค บรรยากาศในวั นนั้ น เต็ มไปด วยรอยยิ้ ม เสี ยงหั วเราะ และความสนุ ก ซึ่ งหลายคนเอ ยปากถึ งความประทั บใจ ที่ ได รั บ และวางแผนว าจะกลั บมาทำกิ จกรรมสนุ กๆ ร วมกั บครอบครั วในสถานที่ ที่ เต็ มไปด วยการกระตุ น ให คิ ดอย างสร างสรรค เช นนี้ อี ก

ทั้ งสองหน วยงานจึ งร วมกั นจั ดค ายวิ ทยาศาสตร สำหรั บครอบครั วขึ้ นเป นครั้ งแรกในชื่ อ “STEM Maker Day” ในรู ปของฐานการเรี ยนรู ภายในตึ กอาคาร พิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร โดยใช เวลา ๑ วั น กิ จกรรม ทั้ งหมดออกแบบให สอดคล องกั บวั ยของผู มาเรี ยนรู เน นการกระตุ น สร างแรงบั นดาลใจ และทำให เด็ กๆ รู สึ กสนใจและเปลี่ ยนมุ มมองต อการเรี ยนวิ ทยาศาสตร ว าไม ใช เรื่ องยาก แต มั นคื อทุ กสิ่ งที่ อยู รอบตั ว ขณะ เดี ยวกั น พ อแม ผู ปกครอง ก็ มี ส วนร วมกั บกิ จกรรมที่ ออกแบบไว ด วยการช วยกั นแก ป ญหาตามโจทย ของ แต ละฐาน เช น ฐานกำแพงท าพลั ง สมาชิ กครอบครั วได รั บโจทย ว าจะก อกำแพงอย างไรไม ให ล ม และพิ สู จน โดยการเตะ ลู กบอลใส กำแพงที่ ก อร วมกั น เพื่ อเรี ยนรู เรื่ องโครงสร าง ว าต องทำอย างไรจึ งจะแข็ งแรง

๑. องค การพิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร มี ชื่ อย อว า อพวช. เป นสถานที่ สำหรั บการเป นแหล งเรี ยนรู ตลอด ชี วิ ต (Life-long Learning) แหล งสาระบั นเทิ ง (Edutain- ment) แหล งพั ฒนาวิ ชาชี พ (Career Development) และแหล งท องเที่ ยวอย างมี สาระ (Edu-tourism Attraction) ๒. อาคารหลั กมี รู ปทรงลู กบาศก ๓ ลู กเชื่ อมติ ด กั น มี ๖ ชั้ น มี พื้ นที่ จั ดแสดงเนื้ อหาต างๆ ในแต ละชั้ น ได แก ชั้ นที่ ๑. ส วนต อนรั บ นั กวิ ทยาศาสตร รุ น บุ กเบิ ก ห องอิ นเทอร เน็ ต การศึ กษา และนิ ทรรศการ หมุ นเวี ยน ชั้ นที่ ๒. ประวั ติ การค นพบและการประดิ ษฐ ทางวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี ชั้ นที่ ๓. วิ ทยาศาสตร ขั้ นพื้ นฐาน อุ โมงค พลั งงาน และโรงภาพยนตร ชั้ นที่ ๔. โลกของเรา สิ่ งแวดล อม สิ่ งก อสร าง และโครงสร าง เกษตรกรรม ชั้ นที่ ๕. ร างกายของเรา การคมนาคม คุ ณภาพชี วิ ต วิ ทยาศาสตร ในบ าน และอนาคต

ชั้ นที่ ๖. เทคโนโลยี ภู มิ ป ญญาไทย ๓. องค การพิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร ตั้ งมา ๒๐ ป แล ว มี พิ พิ ธภั ณฑ และศู นย ต างๆ ที่ ตั้ งอยู ในบริ เวณ เทคโนธานี ตำบลคลอง ๕ อำเภอคลองหลวง จั งหวั ด ปุ ทมธานี ซึ่ งเป ดดำเนิ นการแล ว คื อพิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยา- ศาสตร พิ พิ ธภั ณฑ ธรรมชาติ วิ ทยา พิ พิ ธภั ณฑ เทคโนโลยี สารสนเทศ และที่ กำลั งก อสร างได แก โครงการพิ พิ ธภั ณฑ พระรามเก า ๔. นอกเหนื อจากพิ พิ ธภั ณฑ และศู นย ที่ จั ดสร าง ขึ้ นเป นพิ พิ ธภั ณฑ ถาวรแล ว อพวช.ยั งมี การจั ดแสดง พิ พิ ธภั ณฑ เคลื่ อนที่ ไปสู ทุ กภู มิ ภาคด วย และยั งมี พิ พิ ธภั ณฑ ในพื้ นที่ กรุ งเทพฯ ได แก จั ตุ รั สวิ ทยาศาสตร อพวช. ณ อาคารจั ตุ รั สจามจุ รี ถนนพญาไท เขตปทุ มวั น กทม. ๕. เป ดบริ การฟรี สำหรั บนั กเรี ยนนั กศึ กษา ส วน ประชาชนทั่ วไป เสี ยค าเข ารวม ๓ อาคารเพี ยง ๑๐๐ บาท หากโรงเรี ยนในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล สนใจที่ จะพานั กเรี ยนมาเรี ยนรู เป นหมู คณะ แต ไม สะดวก เรื่ องการเดิ นทาง สามารถแจ งเรื่ องมา เพื่ อให ทาง อพวช. จั ดรถบริ การรั บส งถึ งที่

คุ ณกิ ติ ยาวดี นิ ลวรรณ ผู จั ดการสื่ อสารองค กรฝ ายกิ จกรรมองค กรและ รั ฐกิ จสั มพั นธ บริ ษั ท เอสโซ (ประเทศไทย) จำกั ด (มหาชน) “เอสโซ ฯ ตระหนั กและให ความสำคั ญของการ เรี ยนรู วิ ทยาศาสตร ในแบบที่ เรี ยกว า STEM เพราะเรา เห็ นว าแก นความรู เหล านี้ คื อหั วใจสำคั ญในการนำพา ประเทศให เจริ ญก าวหน า เราจึ งร วมกั บ อพวช. ในการ ทำกิ จกรรมค ายครอบครั วครั้ งนี้ เพื่ อให ครอบครั วได มา ใช เวลาว างร วมกั น ทำกิ จกรรมที่ เป นประโยชน และ สร างความสั มพั นธ ในครอบครั วให ดี ขึ้ น”

คุ ณสุ รวงศ วงษ ศิ ริ รองผู อำนวยการ

องค การพิ พิ ธภั ณฑ วิ ทยาศาสตร แห งชาติ (อพวช.) “เอสโซ ถื อเป นพั นธมิ ตรสำคั ญที่ ให การสนั บสนุ น อพวช.มาหลายกิ จกรรม ทั้ งโครงการคาราวานวิ ทยา- ศาสตร ที่ เป นการนำความรู ออกสู ท องถิ่ นต างจั งหวั ด ทำให เด็ กและเยาวชนได เข าถึ งแหล งเรี ยนรู ได ง ายขึ้ น นอกจากนั้ น ยั งให การสนั บสนุ นการจั ดค ายใน พิ พิ ธภั ณฑ ซึ่ งเรามี หลากหลายรู ปแบบ และการจั ดค าย STEM Maker Day ครั้ งนี้ ก็ เป นการจั ดร วมกั นระหว าง อพวช. กั บ เอสโซ เพื่ อให เป นกิ จกรรมเรี ยนรู ร วมกั น ระหว างเด็ กและพ อแม ผู ปกครอง”

สมาชิ กครอบครั วเอสโซ คุ ณศศิ ธร พฤกษาชั ยพร หน วยงานจั ดซื้ อ

“รู สึ กว าที่ นี่ ทั นสมั ยมาก และหาได ยากในเมื องไทย ไม ไกลจากกรุ งเทพฯ มากนั ก กิ จกรรมก็ มี ให ทำทั้ งวั น จึ งเหมาะมากที่ พ อแม จะมาใช เวลาอยู กั บลู กที่ นี่ ช วยกั น เรี ยนรู เพราะกิ จกรรมหลายอย างถ ามี พ อแม ช วยอธิ บาย ให เข าใจ เด็ กจะสนุ กมากขึ้ น”

สมาชิ กครอบครั วเอสโซ คุ ณพรพรรณ พรหมสารา หน วยงานวางแผนและวิ เคราะห การเงิ น

“เป นครั้ งแรกที่ มา รู สึ กประทั บใจกั บการอธิ บาย ของวิ ทยากรในแต ละฐาน สั งเกตว าเด็ กๆ ของเราก็ สนุ ก ไปด วย ที่ สนใจมาร วมกั บครอบครั วเอสโซ เพราะอยาก ให ลู กได ลองทำอะไรใหม ๆ ที่ เป นเรื่ องทางวิ ทยาศาสตร บ าง ก็ มาแล วไม ผิ ดหวั ง คิ ดว ามี โอกาสจะมาอี กเพราะ ยั งดู ไม ครบเลย”

สมาชิ กครอบครั วเอสโซ คุ ณกั สมี หะยี สาและ หน วยงานบริ การลู กค าน้ ำมั นเชื้ อเพลิ งและ ผลิ ตภั ณฑ หล อลื่ น “ที่ เลื อกมาค ายนี้ เพราะเห็ นว าจะช วยเสริ มทั กษะ การคิ ดเชิ งวิ ทยาศาสตร ให ลู กๆ เราได เลยพาลู กมา เพื่ อให สั มผั สของจริ ง มาแล วก็ ไม ผิ ดหวั ง ที่ สำคั ญคื อ เป นกิ จกรรมที่ สนุ ก ไม น าเบื่ อ และให พ อแม เข ามามี ส วนร วมด วย ได เรื่ องความสนุ กแล วยั งได ทดลอง ด วยการลงมื อเอง”

History & Culture

¸¹ÀÑ Ê Ê§Ç¹·ÃÑ ¾Â

“อ างศิ ลา” นอกจากจะเป นเมื องชายทะเลที่ มี ชื่ อเสี ยงด านอาหารทะเลสด ครกหิ นขึ้ นชื่ อแล ว เมื องแห งนี้ ยั งมี ความน าสนใจทางประวั ติ ศาสตร ซ อนไว อี กมากมายไม ว าจะเป น “ศาลเจ าแม หิ นเขา” ซึ่ งตั้ งอยู บริ เวณ “พระตำหนั กมหาราช” ภายในเขต “พิ พิ ธภั ณฑ เฉลิ มพระเกี ยรติ ๗๒ พรรษามหาราช” ซึ่ งนอกจาก จะเป นศู นย รวมความศรั ทธาของชาวชุ มชนอ างศิ ลาแล ว ทั้ งสองสถานที่ สำคั ญแห งนี้ ยั งเป นอนุ สรณ ให คนรุ นหลั ง ได เรี ยนรู ประวั ติ ศาสตร และการเสด็ จพระราชดำเนิ น มายั งอ างศิ ลาของพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล า เจ าอยู หั ว (รั ชกาลที่ ๕) อี กด วย

Grandma’s hand-woven cloth

Ang Sila has been famous for fresh seafood and stone mortars. Recently, visitors are attracted to Ang Sila by the special hand-woven cloth patterns, initiated by Somdej Phra Phan Vassa Ayika Chao, the grandmother of King Ananda Mahidol and King Bhumibol. During her stay at Ang Sila, Somdej Phra Phan Vassa Ayika Chao taught local people to weave cloth with delicate patterns – Sai Pla Lai and Nok Krata. Today, the cloth is one of Ang Sila’s famous product.

“พระตำหนั กมหาราช” หรื อ “ตึ กขาว”

โดยเฉพาะ “พระตำหนั กมหาราช” และ “พระ ตำหนั กราชิ นี ” อาคารซึ่ งเคยถู กใช เป น “อาไศรยสถาน (สถานพั กฟ นตากอากาศสำหรั บผู ป วย) แห งแรกของ ประเทศไทย” อาคารทั้ งสองหลั งนี้ ถู กสร างขึ้ นตั้ งแต รั ชสมั ยพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล าเจ าอยู หั ว (รั ชกาล ที่ ๔) ต อมาในรั ชสมั ยพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล า เจ าอยู หั ว สมเด็ จพระศรี พั ชริ นทราบรมราชิ นี นาถ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล าฯ ให บู รณะปฏิ สั งขรณ ขึ้ นใหม และพระราชทานนามแก อาคารทั้ งสอง โดยให อาคาร หลั งใหญ สี ขาวมี นามว า “พระตำหนั กมหาราช” ส วน อาคารหลั งเล็ กสี แดงมี นามว า “พระตำหนั กราชิ นี ” แต ประชาชนย านอ างศิ ลาก็ ยั งคงนิ ยมเรี ยกตามลั กษณะ ภายนอกว า “ตึ กขาว” และ “ตึ กแดง” ในวั นนี้ สิ นค าขึ้ นชื่ ออี กสิ่ งที่ กำลั งเป นที่ รู จั กและ ได รั บการยอมรั บจากประชาชน ที่ นิ ยมซื้ อเป นของฝาก เมื่ อมี โอกาสเดิ นทางเข ามาท องเที่ ยวยั ง ต.อ างศิ ลา จ.ชลบุ รี และหน วยงานภาครั ฐและเอกชน ที่ นิ ยมสั่ งซื้ อ เพื่ อใช ตั ดเย็ บเป นเสื้ อสวมใส เมื่ อคราต องออกงานเป น หมู คณะ จนทำให ผู ผลิ ตซึ่ งก็ คื อชาวชุ มชนบ านป ก ต องเร งกำลั งการผลิ ตให ทั นกั บความต องการโดยเฉพาะ ช วงเทศกาลสำคั ญต างๆ ก็ คื อ “ผ าทอมื อคุ ณย าท าน” ที่ นอกจากจะเป นสิ นค าที่ มี ความน าสนใจในลวดลาย การทอแล ว สิ นค าชิ้ นนี้ ยั งอยู ในโครงการสื บสานตำนาน ผ าทอมื อ ในพระราชดำริ สมเด็ จพระศรี สวริ นทิ รา บรมราชเทวี พระพั นวั สสาอั ยยิ กาเจ า เมื่ อกว า ๑๐๐ ป ก อนอี กด วย

“พระตำหนั กราชิ นี ” หรื อ “ตึ กแดง”

“กำนั นเกษม อิ นทโชติ ” บุ คคลผู เป นกำลั งหลั ก ในการนำพาชาวบ านและกลุ มสตรี ต.บ านป ก ดำเนิ น โครงการสื บสานตำนานผ าทอมื อโบราณ หรื อที่ คนใน สมั ยก อนรู จั กกั นดี ในชื่ อ “ผ าทอมื ออ างหิ น” เล าว า ผ าทอมื ออ างหิ น เกิ ดขึ้ นตามพระราชดำริ ของ สมเด็ จ พระพั นวั สสาอั ยยิ กาเจ า เมื่ อครั้ งทรงแปรพระราชฐาน มาประทั บยั ง ต.อ างศิ ลา ที่ ต องการให คนในชุ มชน มี อาชี พ สร างรายได เลี้ ยงตนเองและครอบครั ว ในครั้ งนั้ นท านทรงถ ายทอดความรู ตั้ งแต การนำเส นด าย สอดเข ากระสวย ก อนนำสู ตั วเฟ องจนถึ งการทอและ สร างลวดลายที่ มี ความโดดเด นเฉพาะตั ว คื อ ลายไส ปลาไหล-นกกระทา จนเป นที่ รู จั กและกล าวถึ งในเรื่ อง ความสวยงามของลายผ าที่ ไม เหมื อนใคร และหนึ่ งในผู ที่ มี โอกาสได รั บการถ ายทอดวิ ชาการ ทอผ าโบราณนี้ ก็ คื อ คุ ณยายหง วน เสริ มศรี ที่ ป จจุ บั น มี อายุ กว า ๙๖ ป และเป นผู ที่ มี ความรู ด านการทอผ า โบราณเป นอย างดี และเมื่ อครั้ งที่ สมเด็ จพระเทพรั ตน- ราชสุ ดาฯ เสด็ จพระราชดำเนิ นมายั งโรงพยาบาลสมเด็ จ พระบรมราชเทวี ณ ศรี ราชา เมื่ อวั นที่ ๑๙ มี นาคม ๒๕๕๖ ก็ ได มี โอกาสเข าเฝ าฯ เพื่ อนำผ าทอที่ มี ให พระองค ทอดพระเนตร หลั งจากที่ พระองค ทรงต องการ ทราบว า ผ าทอมื อที่ มี มาตั้ งแต สมั ยสมเด็ จพระพั นวั สสา อั ยยิ กาเจ า ซึ่ งเป นสมเด็ จย าในพระบาทสมเด็ จพระ ปรเมนทรมหาอานั นทมหิ ดล พระอั ฐมรามาธิ บดิ นทร (ร.๘) และพระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหาภู มิ พล อดุ ลยเดช (ร.๙) ได สู ญหายไปแล วหรื อไม

“คุ ณยายหง วน ได กราบทู ลเกี่ ยวกั บขั้ นตอนต างๆ ในการทอ ตั้ งแต ขั้ นตอนแรกจนถึ งขั้ นตอนสุ ดท าย พระองค ทรงสนพระทั ยและฝากให ช วยอนุ รั กษ ฟ นฟู ผ าทอนี้ ให อยู คู จั งหวั ดชลบุ รี ซึ่ งท านผู ว าราชการจั งหวั ด และ ฯพณฯ สนธยา คุ ณปลื้ ม ก็ สนั บสนุ นให มี การ อนุ รั กษ ผ าทอจนสำเร็ จตามกระแสรั บสั่ ง พร อมมอบหมาย ให สำนั กงานพั ฒนาชุ มชนจั งหวั ดชลบุ รี เข ามาดู แลด าน การดำเนิ นงาน และเปลี่ ยนชื่ อเป น “ผ าทอมื อคุ ณย าท าน” ซึ่ งมี ที่ มาจาก สมเด็ จพระพั นวั สสาอั ยยิ กาเจ า” กำนั น เกษมเล าให ฟ ง สำหรั บ “ผ าทอมื อคุ ณย าท าน” เป นผ าฝ ายผสมโทเร ที่ มี ลวดลายโดดเด นเฉพาะตั ว คื อ ลายไส ปลาไหล-นก กระทา ที่ คนในสมั ยโบราณหากได เห็ นแล วจะรู ได ทั นที ว า เป นผ าทอมื ออ างหิ น ที่ มาจาก ต.บ านป กอ างศิ ลา โดยได รั บการยกย องว าเป นผ าลายโบราณที่ มี ความ สวยงาม และในวั นนี้ ยั งเป นที่ นิ ยมของกลุ มผู ชื่ นชอบ ผ าไทย จนทำให มี คำสั่ งซื้ อเพื่ อนำไปตั ดเย็ บเป นเสื้ อ สวมใส เนื่ องจากสนนราคาต อผื นไม แพง วั นนี้ ชาวชุ มชนบ านป ก ได ร วมกั นอนุ รั กษ ผ าทอมื อ โบราณ ด วยการจั ดตั้ งกลุ มสตรี เพื่ อต อยอดการทำ กระเป าและเสื้ อออกขาย ทั้ งยั งจั ดตั้ งศู นย การเรี ยนรู เรื่ องการทอผ าโบราณ ณ โรงเรี ยนวั ดใหม เกตุ งาม เพื่ อปลู กฝ งให เยาวชน ได เรี ยนรู เรื่ องการทอผ าว า มี ความเป นมาอย างไร รวมถึ งความยากง ายของการ ทอผ าแต ละลาย เพื่ อรั กษาผ าโบราณที่ มี มากว า ๑๐๐ ป ให อยู คู ประเทศไทยสื บไป

และหากท านมี โอกาสมาเยื อนเมื องอ างศิ ลาแล ว อย าลื มแวะชมความงามอย างมี คุ ณค าของ “ผ าทอมื อ คุ ณย าท าน” ณ ศู นย การเรี ยนรู เกี่ ยวกั บการทอผ าโบราณ โรงเรี ยนวั ดใหม เกตุ งามกั นนะคะ

ธนภั ส สงวนทรั พย

จบการศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี จากคณะมนุ ษยศาสตร มหาวิ ทยาลั ยบู รพา ชื่ นชอบในการเขี ยนบทความ เกี่ ยวกั บบุ คคล และสถานที่ สำคั ญต างๆ เป นคอลั มนิ สต ให กั บนิ ตยสาร Chonburi 108.Com เขี ยนบทความเกี่ ยวกั บสถานที่ ท องเที่ ยว เป นพิ ธี กร รายการในเคเบิ้ ลท องถิ่ นในจั งหวั ดชลบุ รี

วั นศตมวารแห งการสวรรคต

โครงการเอสโซ พั ฒนา

เยี่ ยมชมกระบวนการผลิ ต

เนื่ องในวั นศตมวารแห งการสวรรคต ของพระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหา ภู มิ พลอดุ ลยเดช โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ (ประเทศไทย) จำกั ด (มหาชน) ได ร วมสนั บสนุ นโครงการบรรพชา อุ ปสมบทหมู เพื่ อถวายเป นพระราชกุ ศลฯ ณ วั ดใหม เนิ นพยอม ชุ มชนบ านอ าวอุ ดม นอกจากนี้ เรายั งได ร วมสนั บสนุ นซุ มอาหาร สำหรั บแจกจ ายให กั บประชาชนทั่ วไป ณ เทศบาลนครแหลมฉบั ง เพื่ อเป น ส วนหนึ่ งในการทำความดี ถวายแด องค พระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหาภู มิ พล อดุ ลยเดช

โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ ฯ โดยนายพงษ พิ พั ฒน พริ้ งสกุ ล ผู จั ดการแผนกสร างเสริ มประสิ ทธิ ภาพองค กร และที มประชาสั มพั นธ ได ให การต อนรั บ คณะครู และนั กเรี ยนจากโรงเรี ยนมหิ ดล วิ ทยานุ สรณ ซึ่ งเป นโรงเรี ยนสำหรั บผู มี ความ สามารถพิ เศษด านคณิ ตศาสตร วิ ทยาศาสตร เข าฟ งบรรยาย และเยี่ ยมชมกระบวนการ ผลิ ตของเรา เพื่ อส งเสริ ม และพั ฒนาความรู อั นจะสร างโอกาสทางการศึ กษาให กั บน องๆ นั กเรี ยนได ต อไปในอนาคต

โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ ฯ ได จั ดประชุ มกลุ มอาชี พสตรี โครงการเอสโซ พั ฒนาโดยมี ผู นำชุ มชน และสมาชิ กกลุ มอาชี พทั้ ง ๑๐ ชุ มชนเข าร วม เพื่ อประเมิ นความสำเร็ จของกิ จกรรม ในป ที่ ผ านมา และกำหนดแนวทางกิ จกรรม การฝ กอาชี พของป นี้ ให สอดคล องกั บความ ต องการของชุ มชนอย างสู งสุ ด เพื่ อบรรลุ วั ตถุ ประสงค ของโครงการในการสร างอาชี พ เพิ่ มพู นรายได ให กั บครอบครั วได อย างแท จริ ง ตามแนวนโยบายการพั ฒนาชุ มชนอย าง ยั่ งยื นที่ เรายึ ดมั่ นมาโดยตลอด

สนั บสนุ นกระบองไฟตำรวจ

วั นเด็ กแห งชาติ

ร วมมื อกั นสร างสรรค แหล งเรี ยนรู ฯ

นายนุ กิ จ ชลคุ ป ผู จั ดการแผนกความ ปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และสิ่ งแวดล อม โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ ฯ เป นผู แทนสนั บสนุ นกระบองไฟตำรวจ จำนวน ๕๐ อั น แก สถานี ตำรวจภู ธร แหลมฉบั ง โดยมี พั นตำรวจโทภู มิ สิ ทธิ์ สิ งห เถื่ อน รองผู กำกั บการป องกั น ปราบปรามฯ สถานี ตำรวจภู ธรแหลมฉบั ง เป นผู รั บมอบ เพื่ อการจั ดการงานจราจร ให เป นไปด วยความเรี ยบร อย และป องกั น ปราบปรามอาชญากรรมในพื้ นที่ โรงกลั่ น น้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ขอเป นกำลั งใจให เจ าหน าที่ ตำรวจทุ กท านปฏิ บั ติ ราชการอย าง เต็ มกำลั ง เพื่ อความสงบร มเย็ นในชุ มชน

นางสาวสุ พิ ชา ธี ระชั ยชยุ ติ ผู จั ดการ ฝ ายเทคนิ คพร อมด วยที มประชาสั มพั นธ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ ฯ เป นตั วแทนมอบกระเป าเป สะพายหลั งและ กระบอกน้ ำเป นของขวั ญวั นเด็ กให กั บ หน วยงานภาครั ฐ และโรงเรี ยนต างๆ ในเขตพื้ นที่ จั งหวั ดชลบุ รี อาทิ สถาบั น วิ ทยาศาสตร ทางทะเล มหาวิ ทยาลั ยบู รพา, เทศบาลนครแหลมฉบั ง, สวนสั ตว เป ด เขาเขี ยว ฯลฯ เพื่ อนำไปแจกจ ายให กั บเด็ กๆ เป นของขวั ญจากใจโรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชาเนื่ องในโอกาสวั นเด็ กแห งชาติ

โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา บริ ษั ท เอสโซ ฯ สนั บสนุ นโครงการ “ร วมมื อกั น สร างสรรค แหล งเรี ยนรู ทางทะเล Friends of Bangsaen Aquarium” อย างต อเนื่ องเป นป ที่ ๗ โดยมี นางทิ พสุ คนธ ดวงทิ พย ผู จั ดการ ประชาสั มพั นธ และบริ หารสำนั กงาน เป นตั วแทนมอบเงิ นสนั บสนุ นโครงการฯ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให กั บ ดร.เสาวภา สวั สดิ์ พี ระ ผู อํ านวยการสถาบั นวิ ทยาศาสตร ทางทะเล มหาวิ ทยาลั ยบู รพาเพื่ ออนุ รั กษ ทรั พยากรทางทะเล ส งเสริ มการเรี ยนรู และการดู แลรั กษาพั นธุ ปลาที่ อาศั ยอยู ใน เขตแนวปะการั ง ให เป นแหล งเรี ยนรู ของ เยาวชน และผู ที่ สนใจทั่ วไป ให ความ สมบู รณ ของท องทะเลอยู คู กั บเราไป แสนนาน

เอสโซ ประกาศรายชื่ อผู โชคดี ทั้ งสามครั้ งจากแคมเปญ “ขั บได ไกล แถมได โชค”

บริ ษั ท เอสโซ (ประเทศไทย) จำกั ด มหาชน นำโดย นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน ผู จั ดการฝ ายขายผลิ ตภั ณฑ หล อลื่ นยานยนต ประจำภู มิ ภาคเอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต มอบรางวั ลจากการส งรหั สชิ งโชคในแคมเปญ "ขั บได ไกล แถมได โชค" สามารถติ ดตามรายละเอี ยดเพิ่ มเติ มอื่ นๆ ได ที่ เว็ บไซต www.Mobil1.co.th

ครั้ งที่ ๑

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (กลาง) มอบรางวั ลที่ ๑ (รถยนต โตโยต า โคโรลล า อั ลติ ส) แก นางฐิ นี นารถ วาจี สิ ทธิ์ (ซ าย)

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (ขวา) มอบรางวั ลที่ ๒ (รถกระบะโตโยต าไฮลั กซ รี โว ) แก นางสาวสุ วรรณา ลี่ มงคลกุ ล (ซ าย)

ครั้ งที่ ๒

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (ขวา) มอบรางวั ลที่ ๒ (รถกระบะโตโยต าไฮลั กซ รี โว ) แก นายประสาท เสละ (ซ าย)

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (ขวา) มอบรางวั ลที่ ๑ (รถยนต โตโยต า โคโรลล า อั ลติ ส) แก นายอานนท เสลิ่ ม (ซ าย)

ครั้ งที่ ๓

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (ขวา) มอบรางวั ลที่ ๒ (รถกระบะโตโยต าไฮลั กซ รี โว ) แก นายเจษฏา ภั ทรกิ จนิ รั นดร (กลาง)

นางสาวจิ ราพรรณ เปาวรั ตน (ซ าย) มอบรางวั ลที่ ๑ (รถยนต โตโยต า โคโรลล า อั ลติ ส) แก นายประพั นธ ธี ระรั ตน (กลาง)

รางวั ลมาตรฐานความเป็ นเลิ ศระดั บโลกในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ล

โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา มี สถิ ติ การทำงานโดยไม มี การบาดเจ็ บที่ ต อง บั นทึ กของพนั กงานมากกว า ๑๕ เดื อน หรื อ ๕๖๐ วั น นั บถึ งสิ้ นเดื อน มี นาคม ๒๕๖๐ สำหรั บสถิ ติ ความปลอดภั ยในการทำงานของผู รั บเหมา ก็ ยอดเยี่ ยมด วยจำนวน ๑,๖๑๗ วั น โดยไม มี การบาดเจ็ บที่ ต องบั นทึ ก นอกจากนี้ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชายั งมี สถิ ติ ความปลอดภั ยด านปฏิ บั ติ การที่ ยอดเยี่ ยมโดยไม มี เหตุ การณ ระดั บ เที ยร ๑ และ เที ยร ๒ ในช วงไตรมาสแรก ทางด านสิ่ งแวดล อม ไม มี การปล อยก าซหรื อน้ ำมั นหกรั่ วไหล และไม มี กรณี ในเรื่ องของการควบคุ มธุ รกิ จ

โดยโรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ได รั บรางวั ลมาตรฐานความเป นเลิ ศระดั บโลกในเครื อเอ็ กซอนโมบิ ล รวม ๖ จาก ๗ รางวั ล ได แก

๑. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านความปลอดภั ยบุ คคล ๒. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านความปลอดภั ยในส วนปฏิ บั ติ การ ๓. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านการรั กษาสิ่ งแวดล อม ๔. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านความเชื่ อมั่ นของอุ ปกรณ ๕. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านความเติ บโตทางผลรายได ๖. มาตรฐานความเป นเลิ ศด านมาตรฐานรวมที่ ดี ที่ สุ ดในทุ กด าน

เราให ความสำคั ญกั บการดำเนิ นงานที่ ได มาตรฐาน ควบคู ไปกั บการบริ หารจั ดการความปลอดภั ยขั้ นสู ง ตลอดจนการดู แลใส ใจสิ่ งแวดล อม และชุ มชน ให ร วมก าวไปข างหน าด วยกั นอย างมั่ นคง

Page 1 Page 2 Page 3 Page 4 Page 5 Page 6 Page 7 Page 8 Page 9 Page 10 Page 11 Page 12 Page 13 Page 14 Page 15 Page 16 Page 17 Page 18 Page 19 Page 20 Page 21 Page 22 Page 23 Page 24 Page 25 Page 26 Page 27 Page 28 Page 29 Page 30 Page 31 Page 32 Page 33 Page 34 Page 35 Page 36

Powered by